Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Docynia indica
Docynia indica
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Docynia indica
Decne.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
มักขี้หนู
ชื่อท้องถิ่น::
-
แอปเปิ้ลป่า Assam apple
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Rosales
วงศ์::
Rosaceae
สกุล:
Docynia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:37 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:37 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูง ๑๐ - ๒๐ เมตร กิ่งอ่อนมักมีหนามและหลุดไปเมื่อต้นมีอายุมากขึ้น ใบเดี่ยว รูปไข่หรือรูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน โคนใบมน ขอบใบตอนบนมักจะจัก ขอบใบตอนล่างค่อนข้างเรียบ ปลายใบแหลม แผ่นใบด้านล้างมีขนนุ่ม ดอก ออกเป็นกระจุกๆละ ๑ - ๓ ดอก กลีบดอก ๕ กลีบ สีขาว ร่วงง่าย ผลสด รูปไข่หรือเกือบกลม สีเขียวอมเหลือง กลีบเลี้ยงติดคงทนอยู่กับผล
-
ไม้ต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูง ๑๐ - ๒๐ เมตร กิ่งอ่อนมักมีหนามและหลุดไปเมื่อต้นมีอายุมากขึ้น ใบเดี่ยว รูปไข่หรือรูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน โคนใบมน ขอบใบตอนบนมักจะจัก ขอบใบตอนล่างค่อนข้างเรียบ ปลายใบแหลม แผ่นใบด้านล้างมีขนนุ่ม ดอก ออกเป็นกระจุกๆละ ๑ - ๓ ดอก กลีบดอก ๕ กลีบ สีขาว ร่วงง่าย ผลสด รูปไข่หรือเกือบกลม สีเขียวอมเหลือง กลีบเลี้ยงติดคงทนอยู่กับผล
-
ไม้ต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูง ๑๐ - ๒๐ เมตร กิ่งอ่อนมักมีหนามและหลุดไปเมื่อต้นมีอายุมากขึ้น ใบเดี่ยว รูปไข่หรือรูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน โคนใบมน ขอบใบตอนบนมักจะจัก ขอบใบตอนล่างค่อนข้างเรียบ ปลายใบแหลม แผ่นใบด้านล้างมีขนนุ่ม ดอก ออกเป็นกระจุกๆละ ๑ - ๓ ดอก กลีบดอก ๕ กลีบ สีขาว ร่วงง่าย ผลสด รูปไข่หรือเกือบกลม สีเขียวอมเหลือง กลีบเลี้ยงติดคงทนอยู่กับผล
-
ไม้ต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูง ๑๐ - ๒๐ เมตร กิ่งอ่อนมักมีหนามและหลุดไปเมื่อต้นมีอายุมากขึ้น ใบเดี่ยว รูปไข่หรือรูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน โคนใบมน ขอบใบตอนบนมักจะจัก ขอบใบตอนล่างค่อนข้างเรียบ ปลายใบแหลม แผ่นใบด้านล้างมีขนนุ่ม ดอก ออกเป็นกระจุกๆละ ๑ - ๓ ดอก กลีบดอก ๕ กลีบ สีขาว ร่วงง่าย ผลสด รูปไข่หรือเกือบกลม สีเขียวอมเหลือง กลีบเลี้ยงติดคงทนอยู่กับผล
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในประเทศอินเดีย บังคลาเทศ พม่า จีน (ยูนนาน) และเวียดนาม ในประเทศไทยพบตามชายป่าดิบเขา และป่าละเมาะทางภาคเหนือ ที่ระดับความสูง ๑,๔๐๐ - ๒,๑๐๐ เมตร
-
พบในประเทศอินเดีย บังคลาเทศ พม่า จีน (ยูนนาน) และเวียดนาม ในประเทศไทยพบตามชายป่าดิบเขา และป่าละเมาะทางภาคเหนือ ที่ระดับความสูง ๑,๔๐๐ - ๒,๑๐๐ เมตร
-
พบในประเทศอินเดีย บังคลาเทศ พม่า จีน (ยูนนาน) และเวียดนาม ในประเทศไทยพบตามชายป่าดิบเขา และป่าละเมาะทางภาคเหนือ ที่ระดับความสูง ๑,๔๐๐ - ๒,๑๐๐ เมตร
-
พบในประเทศอินเดีย บังคลาเทศ พม่า จีน (ยูนนาน) และเวียดนาม ในประเทศไทยพบตามชายป่าดิบเขา และป่าละเมาะทางภาคเหนือ ที่ระดับความสูง ๑,๔๐๐ - ๒,๑๐๐ เมตร
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1034256
1034256
2
PRJEB49299
787880
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Ardisia cincta
Dendrobium gregulus
Habenaria reflexa
Kuniwatsukia cuspidata
ไข่ปลา
Debregeasia longifolia
รองเท้านารีอินทนนท์ลาว
Paphiopedilum gratrixianum
Previous
Next