Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Diospyros gracilis
Diospyros gracilis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Diospyros gracilis
Fletcher
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
มะเกลือกา
-
กาจะ
ชื่อท้องถิ่น::
-
มะเกลือกา, มะเกียกา
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Ericales
วงศ์::
Ebenaceae
สกุล:
Diospyros
วันที่อัพเดท :
1 ก.พ. 2564 09:36 น.
วันที่สร้าง:
1 ก.พ. 2564 09:36 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
เป็นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบขนาดเล็กที่มีใบสวยงามมาก เปลือกลำต้นมีสีเทาค่อนข้างเรียบ แตกกิ่งก้านสาขาเป็นทรงพุ่มทึบรูปกรวย มีความสูงของลำต้นประมาณ 5 เมตร ปลายกิ่งมักลู่ลงมา ออกเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกันตามกิ่งก้านที่ปลายยอด ลักษณะใบเป็นรูปใบหอกแกมขอบขนาน แผ่นใบเรียบมีสีเขียวเป็นมัน ขอบใบเรียบ โคนใบสอบแคบ ปลายใบเรียวทู่ มีขนาดความกว้างของใบประมาณ 1-3 ซม. ยาวประมาณ 3-10 ซม. ก้านใบสั้น ดอกเป็นดอกสีแดงขนาดเล็ก ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียแยกกันอยู่คนละต้น โดยดอกเพศผู้จะออกเป็นช่อขนาดเล็กตามซอกใบ มีกลีบดอกและกลีบเลี้ยงอย่างละ 4 กลีบ มีเกสรเพศผู้อยู่กลางดอกประมาณ 14-18 อัน ส่วนดอกเพศเมียจะออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามซอกใบ ลักษณะคล้ายดอกเพศผู้ แต่มีขนาดใหญ่กว่า ให้ดอกในช่วงประมาณเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ผลเป็นรูปทรงกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางผลประมาณ 2-2.5 ซม. ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกเป็นสีเหลือง และกลายเป็นผลแห้งเมื่อแก่
-
เป็นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบขนาดเล็กที่มีใบสวยงามมาก เปลือกลำต้นมีสีเทาค่อนข้างเรียบ แตกกิ่งก้านสาขาเป็นทรงพุ่มทึบรูปกรวย มีความสูงของลำต้นประมาณ 5 เมตร ปลายกิ่งมักลู่ลงมา ออกเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกันตามกิ่งก้านที่ปลายยอด ลักษณะใบเป็นรูปใบหอกแกมขอบขนาน แผ่นใบเรียบมีสีเขียวเป็นมัน ขอบใบเรียบ โคนใบสอบแคบ ปลายใบเรียวทู่ มีขนาดความกว้างของใบประมาณ 1-3 ซม. ยาวประมาณ 3-10 ซม. ก้านใบสั้น ดอกเป็นดอกสีแดงขนาดเล็ก ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียแยกกันอยู่คนละต้น โดยดอกเพศผู้จะออกเป็นช่อขนาดเล็กตามซอกใบ มีกลีบดอกและกลีบเลี้ยงอย่างละ 4 กลีบ มีเกสรเพศผู้อยู่กลางดอกประมาณ 14-18 อัน ส่วนดอกเพศเมียจะออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามซอกใบ ลักษณะคล้ายดอกเพศผู้ แต่มีขนาดใหญ่กว่า ให้ดอกในช่วงประมาณเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ผลเป็นรูปทรงกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางผลประมาณ 2-2.5 ซม. ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกเป็นสีเหลือง และกลายเป็นผลแห้งเมื่อแก่
-
เป็นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบขนาดเล็กที่มีใบสวยงามมาก เปลือกลำต้นมีสีเทาค่อนข้างเรียบ แตกกิ่งก้านสาขาเป็นทรงพุ่มทึบรูปกรวย มีความสูงของลำต้นประมาณ 5 เมตร ปลายกิ่งมักลู่ลงมา ออกเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกันตามกิ่งก้านที่ปลายยอด ลักษณะใบเป็นรูปใบหอกแกมขอบขนาน แผ่นใบเรียบมีสีเขียวเป็นมัน ขอบใบเรียบ โคนใบสอบแคบ ปลายใบเรียวทู่ มีขนาดความกว้างของใบประมาณ 1-3 ซม. ยาวประมาณ 3-10 ซม. ก้านใบสั้น ดอกเป็นดอกสีแดงขนาดเล็ก ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียแยกกันอยู่คนละต้น โดยดอกเพศผู้จะออกเป็นช่อขนาดเล็กตามซอกใบ มีกลีบดอกและกลีบเลี้ยงอย่างละ 4 กลีบ มีเกสรเพศผู้อยู่กลางดอกประมาณ 14-18 อัน ส่วนดอกเพศเมียจะออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามซอกใบ ลักษณะคล้ายดอกเพศผู้ แต่มีขนาดใหญ่กว่า ให้ดอกในช่วงประมาณเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ผลเป็นรูปทรงกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางผลประมาณ 2-2.5 ซม. ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกเป็นสีเหลือง และกลายเป็นผลแห้งเมื่อแก่
-
เป็นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบขนาดเล็กที่มีใบสวยงามมาก เปลือกลำต้นมีสีเทาค่อนข้างเรียบ แตกกิ่งก้านสาขาเป็นทรงพุ่มทึบรูปกรวย มีความสูงของลำต้นประมาณ 5 เมตร ปลายกิ่งมักลู่ลงมา ออกเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกันตามกิ่งก้านที่ปลายยอด ลักษณะใบเป็นรูปใบหอกแกมขอบขนาน แผ่นใบเรียบมีสีเขียวเป็นมัน ขอบใบเรียบ โคนใบสอบแคบ ปลายใบเรียวทู่ มีขนาดความกว้างของใบประมาณ 1-3 ซม. ยาวประมาณ 3-10 ซม. ก้านใบสั้น ดอกเป็นดอกสีแดงขนาดเล็ก ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียแยกกันอยู่คนละต้น โดยดอกเพศผู้จะออกเป็นช่อขนาดเล็กตามซอกใบ มีกลีบดอกและกลีบเลี้ยงอย่างละ 4 กลีบ มีเกสรเพศผู้อยู่กลางดอกประมาณ 14-18 อัน ส่วนดอกเพศเมียจะออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามซอกใบ ลักษณะคล้ายดอกเพศผู้ แต่มีขนาดใหญ่กว่า ให้ดอกในช่วงประมาณเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ผลเป็นรูปทรงกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางผลประมาณ 2-2.5 ซม. ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกเป็นสีเหลือง และกลายเป็นผลแห้งเมื่อแก่
การกระจายพันธุ์ :
-
C & E Thailand: Saraburi, Lop Buri, Nakhon Rtchasima, Sa Kaeo
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
ชุมพร, ระนอง
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
พะเยา
-
พะเยา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Mixed deciduous and dry evergreen forests, to 300 m.
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
การขยายพันธุ์ :
-
การใช้เมล็ด
-
การใช้เมล็ด
-
การใช้เมล็ด
-
การใช้เมล็ด
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Morinda scabrida
Thrixspermum merguense
Amorphophallus amygdaloides
Aspidium rockii
Pholidota aidiolepis
Xerospermum intermedium
Previous
Next