ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 4-13 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปไข่แกมรี กว้าง 5-20 ซม. ยาว 12-40 ซม. ปลายมนทู่ ขอบใบหยัก ห่างๆ เส้นใบขนานชัดเจน เนื้อใบสากหนา ก้านใบเป็นร่อง ยาว 2.5-6 ซม. ดอก สีเหลืองสด มักออกเดี่ยวหรือไม่เกินสองดอกบริเวณ ปลายกิ่ง ขนาดบานเต็มที่ กว้าง 10-13 ซม. กลีบรองดอกสีเขียว รูปไข่ มี 5 กลีบขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอกรูปไข่กลับ บางและหลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมาก แยกเป็น 2 ชั้น ปลายเกสรชั้นนอกจะงุ้มเข้า ปลายเกสรชั้นในจะชี้ออก ยอดเกสรเมียแผ่ออกเป็นวง ผล รูปทรงกลม อวบน้ำ ขนาด 3-5 ซม. ผลแก่ สีเหลืองอมส้ม
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 4-13 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปไข่แกมรี กว้าง 5-20 ซม. ยาว 12-40 ซม. ปลายมนทู่ ขอบใบหยัก ห่างๆ เส้นใบขนานชัดเจน เนื้อใบสากหนา ก้านใบเป็นร่อง ยาว 2.5-6 ซม. ดอก สีเหลืองสด มักออกเดี่ยวหรือไม่เกินสองดอกบริเวณ ปลายกิ่ง ขนาดบานเต็มที่ กว้าง 10-13 ซม. กลีบรองดอกสีเขียว รูปไข่ มี 5 กลีบขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอกรูปไข่กลับ บางและหลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมาก แยกเป็น 2 ชั้น ปลายเกสรชั้นนอกจะงุ้มเข้า ปลายเกสรชั้นในจะชี้ออก ยอดเกสรเมียแผ่ออกเป็นวง ผล รูปทรงกลม อวบน้ำ ขนาด 3-5 ซม. ผลแก่ สีเหลืองอมส้ม
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 4-13 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปไข่แกมรี กว้าง 5-20 ซม. ยาว 12-40 ซม. ปลายมนทู่ ขอบใบหยัก ห่างๆ เส้นใบขนานชัดเจน เนื้อใบสากหนา ก้านใบเป็นร่อง ยาว 2.5-6 ซม. ดอก สีเหลืองสด มักออกเดี่ยวหรือไม่เกินสองดอกบริเวณ ปลายกิ่ง ขนาดบานเต็มที่ กว้าง 10-13 ซม. กลีบรองดอกสีเขียว รูปไข่ มี 5 กลีบขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอกรูปไข่กลับ บางและหลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมาก แยกเป็น 2 ชั้น ปลายเกสรชั้นนอกจะงุ้มเข้า ปลายเกสรชั้นในจะชี้ออก ยอดเกสรเมียแผ่ออกเป็นวง ผล รูปทรงกลม อวบน้ำ ขนาด 3-5 ซม. ผลแก่ สีเหลืองอมส้ม
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 4-13 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปไข่แกมรี กว้าง 5-20 ซม. ยาว 12-40 ซม. ปลายมนทู่ ขอบใบหยัก ห่างๆ เส้นใบขนานชัดเจน เนื้อใบสากหนา ก้านใบเป็นร่อง ยาว 2.5-6 ซม. ดอก สีเหลืองสด มักออกเดี่ยวหรือไม่เกินสองดอกบริเวณ ปลายกิ่ง ขนาดบานเต็มที่ กว้าง 10-13 ซม. กลีบรองดอกสีเขียว รูปไข่ มี 5 กลีบขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอกรูปไข่กลับ บางและหลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมาก แยกเป็น 2 ชั้น ปลายเกสรชั้นนอกจะงุ้มเข้า ปลายเกสรชั้นในจะชี้ออก ยอดเกสรเมียแผ่ออกเป็นวง ผล รูปทรงกลม อวบน้ำ ขนาด 3-5 ซม. ผลแก่ สีเหลืองอมส้ม
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดีย และเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ที่ระดับความสูง 200-1,100 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน และติดผล ช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน
-
อินเดีย และเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ที่ระดับความสูง 200-1,100 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน และติดผล ช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน
-
อินเดีย และเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ที่ระดับความสูง 200-1,100 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน และติดผล ช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน
-
อินเดีย และเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ที่ระดับความสูง 200-1,100 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน และติดผล ช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน