-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Epiphytic orchid.
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 30-50 ซม. ลำต้นรูปแท่งดินสอกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. ผิวมีร่องตามยาว ใบ รูปรี กว้าง 4 ซม. ยาว 7-10 ซม. มักจะทิ้งใบเมื่อผลิดอก ดอก เป็นพวง ออกตามข้อ ห้อยลง ยาว 20-25 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีขาว กลีบปากสีเหลืองมีขนนุ่ม ขอบกลีบหยักละเอียด ดอกบาน เต็มที่กว้าง 2-2.5 ซม. มีกลิ่นหอม พบตามป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 1,000-1,500 เมตร ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอกช่วง เดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
-
กล้วยไม้ที่เกาะอาศัยอยู่บนต้นไม้
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 30-50 ซม. ลำต้นรูปแท่งดินสอกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. ผิวมีร่องตามยาว ใบ รูปรี กว้าง 4 ซม. ยาว 7-10 ซม. มักจะทิ้งใบเมื่อผลิดอก ดอก เป็นพวง ออกตามข้อ ห้อยลง ยาว 20-25 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีขาว กลีบปากสีเหลืองมีขนนุ่ม ขอบกลีบหยักละเอียด ดอกบาน เต็มที่กว้าง 2-2.5 ซม. มีกลิ่นหอม พบตามป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 1,000-1,500 เมตร ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอกช่วง เดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 30-50 ซม. ลำต้นรูปแท่งดินสอกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. ผิวมีร่องตามยาว ใบ รูปรี กว้าง 4 ซม. ยาว 7-10 ซม. มักจะทิ้งใบเมื่อผลิดอก ดอก เป็นพวง ออกตามข้อ ห้อยลง ยาว 20-25 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีขาว กลีบปากสีเหลืองมีขนนุ่ม ขอบกลีบหยักละเอียด ดอกบาน เต็มที่กว้าง 2-2.5 ซม. มีกลิ่นหอม พบตามป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 1,000-1,500 เมตร ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอกช่วง เดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 30-50 ซม. ลำต้นรูปแท่งดินสอกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. ผิวมีร่องตามยาว ใบ รูปรี กว้าง 4 ซม. ยาว 7-10 ซม. มักจะทิ้งใบเมื่อผลิดอก ดอก เป็นพวง ออกตามข้อ ห้อยลง ยาว 20-25 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีขาว กลีบปากสีเหลืองมีขนนุ่ม ขอบกลีบหยักละเอียด ดอกบาน เต็มที่กว้าง 2-2.5 ซม. มีกลิ่นหอม พบตามป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 1,000-1,500 เมตร ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอกช่วง เดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
-
ระบบนิเวศ :
-
Hill evergreen forest, 1,000-1,500 m alt..
-
การกระจายพันธุ์ :
-
NE India, E Himalaya, Myanmar, S China, Laos, Vietnam.
-
พบในป่าดิบแล้ง อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
NE India, S China to Indochina, N & NE Thailand: Mae Hong Son, Chiang Mai, Lampang, Phitsanulok, Loei, Sakon Nakhon.
-
พบในป่าดิบแล้ง อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
พบในป่าดิบแล้ง อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
พบในป่าดิบแล้ง อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
MaeHongSon,ChiangMai,Lampang,Tak,Loei,SakonNakhon,Chaiyaphum
-
เชียงใหม่, ดอยสุเทพ, ฝาง, ดอยสะเก็ด, ดอยอินทนนท์, เชียงดาว, พิษณุโลก, ภูเมี่ยง, ลำปาง, ขุนตาล, ตาก, แม่ฮ่องสอน, ปาย, เลย, ภูกระดึง, ภูหลวง, สกลนคร, ชัยภูมิ, ภูเขียว
-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
กล้วยไม้อิงอาศัย
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Mixed deciduous and dry evergreen forests to lower montane forest, 1000-1500 m.