Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Acacia farnesiana
Acacia farnesiana
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Acacia farnesiana
(L.) Willd.
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Sponge tree, Cassie flower, Sweet acacia
-
Ellington's curse
-
Cassie flower, Huisache, Sponge tree, Sweet acacia
ชื่อไทย::
-
กระถินเทศ
ชื่อท้องถิ่น::
-
คำใต้ ดอกคำใต้ กระถินหอม (ภาคเหนือ), ถิน (ภาคใต้)
-
กระถินหอม คำใต้ ดอกคำใต้ (เหนือ) กระถิน (กลาง) เกากรึนอง (กาญจนบุรี) บุหวาละสะมะนา (ปราจีนบุรี) บุหงาอินโดนีเซีย (กรุงเทพฯ)
-
คำใต้
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Vachellia
ที่มา :
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:37 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:37 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
มีลักษณะเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดย่อม สูงประมาณ ๒-๔ เมตร ลำต้นมีหนาม ต้นกิ่งก้านจะมีสีคล้ำน้ำตาล ใบมีสีเขียวแก่ เป็นใบประกอบ เรียงตัวลักษณะคล้ายขนนก ๒ ชั้น ยาว ๕-๘ ซม. มีใบย่อย ๑๐-๒๐ คู่ หูของใบจะมีหนามยาวประมาณ ๑-๑.๕ ซม. ดอกเป็นช่อมีลักษณะเป็นพุ่มกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๑ ซม. มีขนสั้น ๆ คลุมอยู่ มีสีเหลืองเข้ม จะมีกลิ่นหอม กลีบดอกเป็นหลอด ส่วนปลายจะมี ๕ กลีบ รังไข่ยาวเป็นหลอด มีเกสรตัวผู้มาก ปลายก้านเกสรตัวเมียงอ ก้านช่อดอกยาวประมาณ ๑-๓ ซม. กิ่งย่อมมีหนาม กิ่งออกในลักษณะซิกแซ็ก - มีลักษณะเป็นฝักยาวกลมตรงหรือโค้งเล็กน้อย ยาวประมาณ ๔-๑๐ ซม. เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๑-๑.๕ ซม.
-
สูง 2 - 10 ม. ทรงพุ่มโปร่ง รูปทรงไม่ค่อยแน่นอน
-
ไม้พุ่ม สูง ๑-๓ เมตร ตามกิ่งมีหนามแหลม ยาวได้ถึง 1 นิ้ว ใบประกอบแบบขนนก ๒ ชั้น คล้ายกระถิน แต่มีขนาดเล็กกว่า ช่อใบยาว ๒-๓ นิ้ว ดอกคล้ายดอกกระถิน สีเหลืองเข้ม มีกลิ่นหอม ฝักรูปทรงกระบอก โค้งเล็กน้อย ยาว ๒-๓ นิ้ว เมื่อแก่มีสีดำ สามารถแพร่กระจายพันธุ์ได้เองในธรรมชาติ ตามที่รกร้าง ดินทรายหรือเหมืองหินเก่า ทุ่งหญ้าท้ายอ่างเก็บน้ำ ทนแล้งและทนน้ำท่วมได้ดี ปศุสัตว์จะกินใบและฝักเป็นพาหะแพร่กระจายเมล็ด
-
ไม้พุ่มผลัดใบ กิ่งก้านมีขน และหนาม ใบเป็นใบประกอบ ใบย่อยเรียงตรงข้าม ปลายใบแหลม ใบมีขนทั้งด้านหน้าและหลัง ดอกช่อ มีใบประดับ ดอกออกเป็นกระจุก และเป็นหลอด ผลเป็นฝัก เมื่อแห้งจะแตกออก มีเมล็ด 7-10 เมล็ด
-
มีลักษณะเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดย่อม สูงประมาณ ๒-๔ เมตร ลำต้นมีหนาม ต้นกิ่งก้านจะมีสีคล้ำน้ำตาล ใบมีสีเขียวแก่ เป็นใบประกอบ เรียงตัวลักษณะคล้ายขนนก ๒ ชั้น ยาว ๕-๘ ซม. มีใบย่อย ๑๐-๒๐ คู่ หูของใบจะมีหนามยาวประมาณ ๑-๑.๕ ซม. ดอกเป็นช่อมีลักษณะเป็นพุ่มกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๑ ซม. มีขนสั้น ๆ คลุมอยู่ มีสีเหลืองเข้ม จะมีกลิ่นหอม กลีบดอกเป็นหลอด ส่วนปลายจะมี ๕ กลีบ รังไข่ยาวเป็นหลอด มีเกสรตัวผู้มาก ปลายก้านเกสรตัวเมียงอ ก้านช่อดอกยาวประมาณ ๑-๓ ซม. กิ่งย่อมมีหนาม กิ่งออกในลักษณะซิกแซ็ก - มีลักษณะเป็นฝักยาวกลมตรงหรือโค้งเล็กน้อย ยาวประมาณ ๔-๑๐ ซม. เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๑-๑.๕ ซม.
-
มีลักษณะเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดย่อม สูงประมาณ ๒-๔ เมตร ลำต้นมีหนาม ต้นกิ่งก้านจะมีสีคล้ำน้ำตาล ใบมีสีเขียวแก่ เป็นใบประกอบ เรียงตัวลักษณะคล้ายขนนก ๒ ชั้น ยาว ๕-๘ ซม. มีใบย่อย ๑๐-๒๐ คู่ หูของใบจะมีหนามยาวประมาณ ๑-๑.๕ ซม. ดอกเป็นช่อมีลักษณะเป็นพุ่มกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๑ ซม. มีขนสั้น ๆ คลุมอยู่ มีสีเหลืองเข้ม จะมีกลิ่นหอม กลีบดอกเป็นหลอด ส่วนปลายจะมี ๕ กลีบ รังไข่ยาวเป็นหลอด มีเกสรตัวผู้มาก ปลายก้านเกสรตัวเมียงอ ก้านช่อดอกยาวประมาณ ๑-๓ ซม. กิ่งย่อมมีหนาม กิ่งออกในลักษณะซิกแซ็ก - มีลักษณะเป็นฝักยาวกลมตรงหรือโค้งเล็กน้อย ยาวประมาณ ๔-๑๐ ซม. เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๑-๑.๕ ซม.
-
มีลักษณะเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดย่อม สูงประมาณ ๒-๔ เมตร ลำต้นมีหนาม ต้นกิ่งก้านจะมีสีคล้ำน้ำตาล ใบมีสีเขียวแก่ เป็นใบประกอบ เรียงตัวลักษณะคล้ายขนนก ๒ ชั้น ยาว ๕-๘ ซม. มีใบย่อย ๑๐-๒๐ คู่ หูของใบจะมีหนามยาวประมาณ ๑-๑.๕ ซม. ดอกเป็นช่อมีลักษณะเป็นพุ่มกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๑ ซม. มีขนสั้น ๆ คลุมอยู่ มีสีเหลืองเข้ม จะมีกลิ่นหอม กลีบดอกเป็นหลอด ส่วนปลายจะมี ๕ กลีบ รังไข่ยาวเป็นหลอด มีเกสรตัวผู้มาก ปลายก้านเกสรตัวเมียงอ ก้านช่อดอกยาวประมาณ ๑-๓ ซม. กิ่งย่อมมีหนาม กิ่งออกในลักษณะซิกแซ็ก - มีลักษณะเป็นฝักยาวกลมตรงหรือโค้งเล็กน้อย ยาวประมาณ ๔-๑๐ ซม. เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๑-๑.๕ ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
ใช้เมล็ดในฝักในการขยายพันธุ์ จะปลูกขึ้นได้ในดินร่วนซุย และดินเหนียวที่อุ้มน้ำได้ดี
-
มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบขึ้นเป็นวัชพืชทั่วไปในเขตร้อน
-
ใช้เมล็ดในฝักในการขยายพันธุ์ จะปลูกขึ้นได้ในดินร่วนซุย และดินเหนียวที่อุ้มน้ำได้ดี
-
ใช้เมล็ดในฝักในการขยายพันธุ์ จะปลูกขึ้นได้ในดินร่วนซุย และดินเหนียวที่อุ้มน้ำได้ดี
-
ใช้เมล็ดในฝักในการขยายพันธุ์ จะปลูกขึ้นได้ในดินร่วนซุย และดินเหนียวที่อุ้มน้ำได้ดี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มขนาดเล็ก
ถิ่นกำเนิด :
-
พรรณไม้นำเข้าจากต่างประเทศ (สันนิษฐานว่านำเข้ามาจากอเมริกา)
-
เขตร้อนในทวีปอเมริกา
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ด สามารถทำได้แต่ต้องใช้เวลาในการเพาะนาน 2 - 3 เดือนจึงจะงอก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เพชรบุรี,ประจวบคีรีขันธ์,ราชบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย/กลุ่มป่าแก่งกระจาน (อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อุทยานแห่งชาติกุยบุรี อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ำภาชี)
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1034256
1034256
2
PRJNA1021608
1021608
3
PRJEB52227
884607
4
PRJNA522689
522689
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Millettia griffoniana
หญ้าเขมร
Spermacoce remota
Trachoma rhopalorrhachis
Drynaria quercifolia
Leptocladiella psilura
Acrophorus stipellatus
Previous
Next