Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Albizia saman
Albizia saman
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Albizia saman
(Jacq.) Merr.
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Acacia Preta
-
Cow tamarind, Rain tree
ชื่อไทย:
-
จามจุรี
-
จามจุรี/ก้ามปู/ฉำฉา
-
จามจุรี,ก้ามกราม, ก้ามกุ้ง,ก้ามปู (ภาคกลาง); ตุ๊ดตู่ (ตาก); ลัง,สารสา,สำสา (ภาคเหนือ), เส่คู่, เส่ดู่ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Samanea
ที่มา :
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 18:58 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 18:58 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
-
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย/กลุ่มป่าแก่งกระจาน (อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อุทยานแห่งชาติกุยบุรี อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ำภาชี)
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หนองบงคาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
เพชรบุรี,ประจวบคีรีขันธ์,ราชบุรี
-
เชียงราย
-
จันทบุรี
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง ๓๐ เมตร เรือนยอดแผ่กว้างคล้ายร่ม แตกกิ่งต่ำ เป็นไม้โตเร็วชอบขึ้นตามที่รกร้าง ที่มีดินอุดมสมบูรณ์ หรือชายน้ำ ทั้งในเขตเมือง ชนบท และชายป่า เมื่อโตขึ้นมาแล้วจะมีเรือนยอดแผ่ปกคลุมแสงต้นไม้อื่นได้ดีมากจนใต้เรือนยอดของมันมีพรรณไม้อื่นๆ ขึ้นได้เบาบาง เป็นพืชที่ คนไทยมีการใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน แต่สำหรับในพื้นที่ระบบนิเวศป่าไม้ ถือว่าทำให้ป่าขาดความหลากหลายทาง ชีวภาพตามธรรมชาติ
ถิ่นกำเนิด :
-
ตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
-
ใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA785613
785613
2
PRJEB38138
650095
3
PRJNA390319
390319
4
PRJEB5301
243577
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Pinanga auriculata
สลับสี
Poikilospermum cordifolium
มะขามแขก
Cathormion umbellatum
Homaliodendron exiguum
ตองแตบ
Macaranga denticulata
Dioscorea scortechinii
Previous
Next