Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Albizia lebbek
Albizia lebbek
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Albizia lebbek
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
พฤกษ์
ชื่อท้องถิ่น::
-
มะรุมป่า จ๊าขาม ตุ๊ด กะซึก ถ่อนนา ก้านฮุ้ง มะขามโค
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Albizia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:37 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:37 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงถึง ๒๕ เมตร ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ โคนก้านใบมีต่อม ใบประกอบย่อย ๒ - ๓ คู่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย ๓ - ๖ คู่ เรียงตรงข้าม แผ่นใบย่อยรูปไข่กลับหรือคล้ายสามเหลี่ยมข้าวหลามตัด ปลายใบกลมหรือตัด โคนใบเบี้ยว มนหรือตัด ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกบริเวณซอกใบที่ปลายยอด ช่อดอกย่อยเป็นกระจุกกลมแน่น ดอกย่อยมีขนาดเล็ก เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผลเป็นฝัก รูปขอบขนาน แบน ปลายเรียวแคบทั้งสองด้าน เมื่อแก่จะแตกอ้าตามรอยตะเข็บ เมล็ดทรงรี แบน
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงถึง ๒๕ เมตร ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ โคนก้านใบมีต่อม ใบประกอบย่อย ๒ - ๓ คู่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย ๓ - ๖ คู่ เรียงตรงข้าม แผ่นใบย่อยรูปไข่กลับหรือคล้ายสามเหลี่ยมข้าวหลามตัด ปลายใบกลมหรือตัด โคนใบเบี้ยว มนหรือตัด ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกบริเวณซอกใบที่ปลายยอด ช่อดอกย่อยเป็นกระจุกกลมแน่น ดอกย่อยมีขนาดเล็ก เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผลเป็นฝัก รูปขอบขนาน แบน ปลายเรียวแคบทั้งสองด้าน เมื่อแก่จะแตกอ้าตามรอยตะเข็บ เมล็ดทรงรี แบน
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงถึง ๒๕ เมตร ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ โคนก้านใบมีต่อม ใบประกอบย่อย ๒ - ๓ คู่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย ๓ - ๖ คู่ เรียงตรงข้าม แผ่นใบย่อยรูปไข่กลับหรือคล้ายสามเหลี่ยมข้าวหลามตัด ปลายใบกลมหรือตัด โคนใบเบี้ยว มนหรือตัด ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกบริเวณซอกใบที่ปลายยอด ช่อดอกย่อยเป็นกระจุกกลมแน่น ดอกย่อยมีขนาดเล็ก เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผลเป็นฝัก รูปขอบขนาน แบน ปลายเรียวแคบทั้งสองด้าน เมื่อแก่จะแตกอ้าตามรอยตะเข็บ เมล็ดทรงรี แบน
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงถึง ๒๕ เมตร ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ โคนก้านใบมีต่อม ใบประกอบย่อย ๒ - ๓ คู่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย ๓ - ๖ คู่ เรียงตรงข้าม แผ่นใบย่อยรูปไข่กลับหรือคล้ายสามเหลี่ยมข้าวหลามตัด ปลายใบกลมหรือตัด โคนใบเบี้ยว มนหรือตัด ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกบริเวณซอกใบที่ปลายยอด ช่อดอกย่อยเป็นกระจุกกลมแน่น ดอกย่อยมีขนาดเล็ก เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผลเป็นฝัก รูปขอบขนาน แบน ปลายเรียวแคบทั้งสองด้าน เมื่อแก่จะแตกอ้าตามรอยตะเข็บ เมล็ดทรงรี แบน
การกระจายพันธุ์ :
-
การกระจายพันธุ์ พบในทวีปแอฟริกา และเอเชียเขตร้อนชื้น ในประเทศไทยพบตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือพื้นที่เสื่อมโทรม ทั่วทุกภาค
-
การกระจายพันธุ์ พบในทวีปแอฟริกา และเอเชียเขตร้อนชื้น ในประเทศไทยพบตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือพื้นที่เสื่อมโทรม ทั่วทุกภาค
-
การกระจายพันธุ์ พบในทวีปแอฟริกา และเอเชียเขตร้อนชื้น ในประเทศไทยพบตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือพื้นที่เสื่อมโทรม ทั่วทุกภาค
-
การกระจายพันธุ์ พบในทวีปแอฟริกา และเอเชียเขตร้อนชื้น ในประเทศไทยพบตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือพื้นที่เสื่อมโทรม ทั่วทุกภาค
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ใช้ปลีทำอาหาร ใบห่อของ, ปลีทำอาหาร ใบห่อของ
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Liparis elliptica
Calymperes gracilescens
Dendrophthoe falcata
ติ่งตั่ง
Getonia floribunda
Nenga pumila
Paranephelium longifoliolatum
Previous
Next