Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Albizia crassiramea
Albizia crassiramea
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Albizia crassiramea
Lace
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Albizia lancangensis Y.Y.Qian
- Albizia laotica Gagnep.
- Albizia yunnanensis T.L.Wu
ชื่อไทย::
-
กาง
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Albizia
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
28 ส.ค. 2563
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก แกนช่อใบยาว 17-25 ซม. บริเวณโคนมีต่อมกลมแกมรี ขนาด 3 มม. ใบรูปไข่กลับถึงรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน กว้าง 1.2-3.5 ซม. ยาว 2.5-6 ซม. ดอกสีขาว ออกเป็นช่อใหญ่ที่ปลายยอด ยาวถึง 40 ซม. ดอกย่อยรวมกันเป็นกลุ่ม กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปกรวย ปลายแยก 5 แฉก เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 6-7 ซม. ผลสีน้ำตาลแดง เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน โคนและปลายสอบ กว้าง 2.5 ซม. ยาว 14-17 ซม. เมื่อแก่แตกด้านข้าง เมล็ดรูปไข่กลับแกมรี ขนาด 4.5-7.5 มม.
-
ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก แกนช่อใบยาว 17-25 ซม. บริเวณโคนมีต่อมกลมแกมรี ขนาด 3 มม. ใบรูปไข่กลับถึงรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน กว้าง 1.2-3.5 ซม. ยาว 2.5-6 ซม. ดอกสีขาว ออกเป็นช่อใหญ่ที่ปลายยอด ยาวถึง 40 ซม. ดอกย่อยรวมกันเป็นกลุ่ม กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปกรวย ปลายแยก 5 แฉก เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 6-7 ซม. ผลสีน้ำตาลแดง เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน โคนและปลายสอบ กว้าง 2.5 ซม. ยาว 14-17 ซม. เมื่อแก่แตกด้านข้าง เมล็ดรูปไข่กลับแกมรี ขนาด 4.5-7.5 มม.
-
ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก แกนช่อใบยาว 17-25 ซม. บริเวณโคนมีต่อมกลมแกมรี ขนาด 3 มม. ใบรูปไข่กลับถึงรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน กว้าง 1.2-3.5 ซม. ยาว 2.5-6 ซม. ดอกสีขาว ออกเป็นช่อใหญ่ที่ปลายยอด ยาวถึง 40 ซม. ดอกย่อยรวมกันเป็นกลุ่ม กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปกรวย ปลายแยก 5 แฉก เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 6-7 ซม. ผลสีน้ำตาลแดง เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน โคนและปลายสอบ กว้าง 2.5 ซม. ยาว 14-17 ซม. เมื่อแก่แตกด้านข้าง เมล็ดรูปไข่กลับแกมรี ขนาด 4.5-7.5 มม.
-
ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก แกนช่อใบยาว 17-25 ซม. บริเวณโคนมีต่อมกลมแกมรี ขนาด 3 มม. ใบรูปไข่กลับถึงรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน กว้าง 1.2-3.5 ซม. ยาว 2.5-6 ซม. ดอกสีขาว ออกเป็นช่อใหญ่ที่ปลายยอด ยาวถึง 40 ซม. ดอกย่อยรวมกันเป็นกลุ่ม กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปกรวย ปลายแยก 5 แฉก เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 6-7 ซม. ผลสีน้ำตาลแดง เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน โคนและปลายสอบ กว้าง 2.5 ซม. ยาว 14-17 ซม. เมื่อแก่แตกด้านข้าง เมล็ดรูปไข่กลับแกมรี ขนาด 4.5-7.5 มม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบบริเวณเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคตามป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงถึง 450 ม. ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน
-
พบบริเวณเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคตามป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงถึง 450 ม. ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน
-
พบบริเวณเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคตามป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงถึง 450 ม. ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน
-
พบบริเวณเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคตามป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงถึง 450 ม. ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ปลูกประดับ, ไม้ประดับ จัดแจกัน และจัดสวน, ปลูกประดับและรับประทานได้
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Paederia lanuginosa
Bryum coronatum
Bulbophyllum nigripetalum
Meiothecium turgidellum
Eria spirodela
Mycetia chasalioides
Previous
Next