Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Dasymaschalon blumei
Dasymaschalon blumei
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Dasymaschalon blumei
Finet & Gagnep.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
บุหรง
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
-
Bu rong
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Magnoliales
วงศ์::
Annonaceae
สกุล:
Dasymaschalon
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 6 เมตร กิ่งอ่อนมีขนสีแดงปกคลุม กิ่งแก่เกลี้ยง และมีแผลระบายอากาศ ใบ เดี่ยว รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 4-8 ซม. ยาว 8-22 ซม. โคนใบมนเว้า ปลายใบแหลม แผ่นใบ เกลี้ยงและมัน ใบอ่อนสีแดง ก้านใบยาว 4-6 มม. ดอก สีส้มแดง ออกเดี่ยวที่ซอกใบ ใกล้ยอด ก้านดอกสีแดง ยาว 2-4 ซม. กลีบรองดอก 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยมเชื่อมติดกัน ยาว 5-6 มม. กลีบดอก 3 กลีบ ขอบเชื่อมติดกันตลอดความยาวและบิดเวียน ยาว 5-8 ซม. กว้าง 1.5-2 ซม. เกสรผู้สีแดงจำนวนมาก รวมเป็นกลุ่มที่โคนดอก เกสรเมียสีเหลือง มีขนสีเงินจำนวนมาก ผล เป็นผลกลุ่ม เมื่อสุกสีแดง ผลย่อย ยาว 4-8 ซม. มี 2-6 เมล็ด ต่อหนึ่งผลย่อย มีรอยคอด ระหว่างเมล็ดชัดเจน
-
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 6 เมตร กิ่งอ่อนมีขนสีแดงปกคลุม กิ่งแก่เกลี้ยง และมีแผลระบายอากาศ ใบ เดี่ยว รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 4-8 ซม. ยาว 8-22 ซม. โคนใบมนเว้า ปลายใบแหลม แผ่นใบ เกลี้ยงและมัน ใบอ่อนสีแดง ก้านใบยาว 4-6 มม. ดอก สีส้มแดง ออกเดี่ยวที่ซอกใบ ใกล้ยอด ก้านดอกสีแดง ยาว 2-4 ซม. กลีบรองดอก 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยมเชื่อมติดกัน ยาว 5-6 มม. กลีบดอก 3 กลีบ ขอบเชื่อมติดกันตลอดความยาวและบิดเวียน ยาว 5-8 ซม. กว้าง 1.5-2 ซม. เกสรผู้สีแดงจำนวนมาก รวมเป็นกลุ่มที่โคนดอก เกสรเมียสีเหลือง มีขนสีเงินจำนวนมาก ผล เป็นผลกลุ่ม เมื่อสุกสีแดง ผลย่อย ยาว 4-8 ซม. มี 2-6 เมล็ด ต่อหนึ่งผลย่อย มีรอยคอด ระหว่างเมล็ดชัดเจน
-
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 6 เมตร กิ่งอ่อนมีขนสีแดงปกคลุม กิ่งแก่เกลี้ยง และมีแผลระบายอากาศ ใบ เดี่ยว รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 4-8 ซม. ยาว 8-22 ซม. โคนใบมนเว้า ปลายใบแหลม แผ่นใบ เกลี้ยงและมัน ใบอ่อนสีแดง ก้านใบยาว 4-6 มม. ดอก สีส้มแดง ออกเดี่ยวที่ซอกใบ ใกล้ยอด ก้านดอกสีแดง ยาว 2-4 ซม. กลีบรองดอก 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยมเชื่อมติดกัน ยาว 5-6 มม. กลีบดอก 3 กลีบ ขอบเชื่อมติดกันตลอดความยาวและบิดเวียน ยาว 5-8 ซม. กว้าง 1.5-2 ซม. เกสรผู้สีแดงจำนวนมาก รวมเป็นกลุ่มที่โคนดอก เกสรเมียสีเหลือง มีขนสีเงินจำนวนมาก ผล เป็นผลกลุ่ม เมื่อสุกสีแดง ผลย่อย ยาว 4-8 ซม. มี 2-6 เมล็ด ต่อหนึ่งผลย่อย มีรอยคอด ระหว่างเมล็ดชัดเจน
-
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 6 เมตร กิ่งอ่อนมีขนสีแดงปกคลุม กิ่งแก่เกลี้ยง และมีแผลระบายอากาศ ใบ เดี่ยว รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 4-8 ซม. ยาว 8-22 ซม. โคนใบมนเว้า ปลายใบแหลม แผ่นใบ เกลี้ยงและมัน ใบอ่อนสีแดง ก้านใบยาว 4-6 มม. ดอก สีส้มแดง ออกเดี่ยวที่ซอกใบ ใกล้ยอด ก้านดอกสีแดง ยาว 2-4 ซม. กลีบรองดอก 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยมเชื่อมติดกัน ยาว 5-6 มม. กลีบดอก 3 กลีบ ขอบเชื่อมติดกันตลอดความยาวและบิดเวียน ยาว 5-8 ซม. กว้าง 1.5-2 ซม. เกสรผู้สีแดงจำนวนมาก รวมเป็นกลุ่มที่โคนดอก เกสรเมียสีเหลือง มีขนสีเงินจำนวนมาก ผล เป็นผลกลุ่ม เมื่อสุกสีแดง ผลย่อย ยาว 4-8 ซม. มี 2-6 เมล็ด ต่อหนึ่งผลย่อย มีรอยคอด ระหว่างเมล็ดชัดเจน
การกระจายพันธุ์ :
-
พบกระจายในคาบสมุทร อินโดจีน ถึงอินโดนีเซีย ประเทศไทย พบทางภาคใต้ตามป่าดิบชื้น ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมีนาคม-กันยายน
-
พบกระจายในคาบสมุทร อินโดจีน ถึงอินโดนีเซีย ประเทศไทย พบทางภาคใต้ตามป่าดิบชื้น ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมีนาคม-กันยายน
-
พบกระจายในคาบสมุทร อินโดจีน ถึงอินโดนีเซีย ประเทศไทย พบทางภาคใต้ตามป่าดิบชื้น ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมีนาคม-กันยายน
-
พบกระจายในคาบสมุทร อินโดจีน ถึงอินโดนีเซีย ประเทศไทย พบทางภาคใต้ตามป่าดิบชื้น ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมีนาคม-กันยายน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครศรีธรรมราช
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
สุราษฎร์ธานี
-
ระนอง, ชุมพร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เกาะกระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Acroceras munroanum
Plectranthus helferi
กระเทียมช้าง
Crinum amoenum
Polygonum donii
Pteris dalhousiae
Capillipedium planipedicellatum
Previous
Next