Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Dacryodes kingii
Dacryodes kingii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Dacryodes kingii
(Engl.) Kalkman
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Dacryodes floribunda (King) H.J.Lam
- Santiria floribunda King
- Santiria kingii Engl.
ชื่อไทย::
-
กอกแดง
ชื่อท้องถิ่น::
-
กือลอแซ (มลายู นราธิวาส)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Sapindales
วงศ์::
Burseraceae
สกุล:
Dacryodes
วันที่อัพเดท :
1 ก.พ. 2564 09:34 น.
วันที่สร้าง:
1 ก.พ. 2564 09:34 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. แยกเพศต่างต้น ไม่มีหูใบ กิ่งมีช่องอากาศ ใบประกอบปลายคี่ เรียงเวียน ก้านใบยาว 15-20 ซม. โคนโป่งพอง ใบย่อยมี 6-8 คู่ รูปขอบขนาน ยาว 20-60 ซม. โคนกลม เบี้ยว เส้นแขนงใบข้างละ 18-38 เส้น ก้านใบย่อยยาว 0.2-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง ยาว 0.3-1.2 ม. มีขนละเอียด ช่อแขนงยาวได้ถึง 50 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย มี 3 กลีบ ขนาดเล็ก ดอกสีแดง มี 3 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม หนา รูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม. ในดอกเพศเมียยาว 5-6 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนจานฐานดอก ก้านชูอับเรณู ยาวประมาณ 1.5 มม. ลดรูปในดอกเพศเมีย จานฐานดอกรูปถ้วย หนา รังไข่ลดรูป ในดอกเพศผู้ ไร้ก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรจัก 3 พู ผลสด เปลือกหนา แห้งผิวย่น รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 2-2.5 ซม. ปลายผลมีเกสรเพศเมียติดทน มี 3 ไพรีน เปลือกบาง ส่วนมากเจริญอันเดียว ก้านผลยาว 5-8 มม.พบที่คาบสมุทรมลายูและภาคใต้ตอนล่างของไทยที่นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูง 100-300 เมตร ต่างจากชนิดอื่น ๆ ที่ใบประกอบและช่อดอกขนาดใหญ่ และดอกสีแดง
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. แยกเพศต่างต้น ไม่มีหูใบ กิ่งมีช่องอากาศ ใบประกอบปลายคี่ เรียงเวียน ก้านใบยาว 15-20 ซม. โคนโป่งพอง ใบย่อยมี 6-8 คู่ รูปขอบขนาน ยาว 20-60 ซม. โคนกลม เบี้ยว เส้นแขนงใบข้างละ 18-38 เส้น ก้านใบย่อยยาว 0.2-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง ยาว 0.3-1.2 ม. มีขนละเอียด ช่อแขนงยาวได้ถึง 50 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย มี 3 กลีบ ขนาดเล็ก ดอกสีแดง มี 3 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม หนา รูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม. ในดอกเพศเมียยาว 5-6 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนจานฐานดอก ก้านชูอับเรณู ยาวประมาณ 1.5 มม. ลดรูปในดอกเพศเมีย จานฐานดอกรูปถ้วย หนา รังไข่ลดรูป ในดอกเพศผู้ ไร้ก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรจัก 3 พู ผลสด เปลือกหนา แห้งผิวย่น รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 2-2.5 ซม. ปลายผลมีเกสรเพศเมียติดทน มี 3 ไพรีน เปลือกบาง ส่วนมากเจริญอันเดียว ก้านผลยาว 5-8 มม.พบที่คาบสมุทรมลายูและภาคใต้ตอนล่างของไทยที่นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูง 100-300 เมตร ต่างจากชนิดอื่น ๆ ที่ใบประกอบและช่อดอกขนาดใหญ่ และดอกสีแดง
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. แยกเพศต่างต้น ไม่มีหูใบ กิ่งมีช่องอากาศ ใบประกอบปลายคี่ เรียงเวียน ก้านใบยาว 15-20 ซม. โคนโป่งพอง ใบย่อยมี 6-8 คู่ รูปขอบขนาน ยาว 20-60 ซม. โคนกลม เบี้ยว เส้นแขนงใบข้างละ 18-38 เส้น ก้านใบย่อยยาว 0.2-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง ยาว 0.3-1.2 ม. มีขนละเอียด ช่อแขนงยาวได้ถึง 50 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย มี 3 กลีบ ขนาดเล็ก ดอกสีแดง มี 3 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม หนา รูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม. ในดอกเพศเมียยาว 5-6 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนจานฐานดอก ก้านชูอับเรณู ยาวประมาณ 1.5 มม. ลดรูปในดอกเพศเมีย จานฐานดอกรูปถ้วย หนา รังไข่ลดรูป ในดอกเพศผู้ ไร้ก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรจัก 3 พู ผลสด เปลือกหนา แห้งผิวย่น รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 2-2.5 ซม. ปลายผลมีเกสรเพศเมียติดทน มี 3 ไพรีน เปลือกบาง ส่วนมากเจริญอันเดียว ก้านผลยาว 5-8 มม.พบที่คาบสมุทรมลายูและภาคใต้ตอนล่างของไทยที่นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูง 100-300 เมตร ต่างจากชนิดอื่น ๆ ที่ใบประกอบและช่อดอกขนาดใหญ่ และดอกสีแดง
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. แยกเพศต่างต้น ไม่มีหูใบ กิ่งมีช่องอากาศ ใบประกอบปลายคี่ เรียงเวียน ก้านใบยาว 15-20 ซม. โคนโป่งพอง ใบย่อยมี 6-8 คู่ รูปขอบขนาน ยาว 20-60 ซม. โคนกลม เบี้ยว เส้นแขนงใบข้างละ 18-38 เส้น ก้านใบย่อยยาว 0.2-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง ยาว 0.3-1.2 ม. มีขนละเอียด ช่อแขนงยาวได้ถึง 50 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย มี 3 กลีบ ขนาดเล็ก ดอกสีแดง มี 3 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม หนา รูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม. ในดอกเพศเมียยาว 5-6 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนจานฐานดอก ก้านชูอับเรณู ยาวประมาณ 1.5 มม. ลดรูปในดอกเพศเมีย จานฐานดอกรูปถ้วย หนา รังไข่ลดรูป ในดอกเพศผู้ ไร้ก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรจัก 3 พู ผลสด เปลือกหนา แห้งผิวย่น รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 2-2.5 ซม. ปลายผลมีเกสรเพศเมียติดทน มี 3 ไพรีน เปลือกบาง ส่วนมากเจริญอันเดียว ก้านผลยาว 5-8 มม.พบที่คาบสมุทรมลายูและภาคใต้ตอนล่างของไทยที่นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูง 100-300 เมตร ต่างจากชนิดอื่น ๆ ที่ใบประกอบและช่อดอกขนาดใหญ่ และดอกสีแดง
การกระจายพันธุ์ :
-
Malay Pen, Pen Thailand: Narathiwat (Waeng)
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Tropical rain forest, 100 − 300 m.
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่ากราด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สงขลา
-
สุราษฎร์ธานี
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Prunus arborea
Blechnum indicum
Bulbophyllum forrestii
Ardisia undulatodentata
Macaranga triloba
Strobilanthes sinuata
Previous
Next