Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Cyornis banyumas
Cyornis banyumas
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Cyornis banyumas
(Horsfield, 1821)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Muscicapa banyumas Horsfield, 1821
ชื่อสามัญ::
-
Hill Blue Flycatcher
ชื่อไทย::
-
นกจับแมลงคอน้ำตาลแดง
-
นกจับแมลงคอสีน้ำตาลแดง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Muscicapidae
สกุล:
Cyornis
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 15:48 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 15:48 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็กมาก ( 15 ซม.) ตัวผู้ด้านบนลำตัวสีน้ำเงิน มีสีส้ม-น้ำตาลแดงบริเวณคอหอย อก และสีข้าง ซึ่งจะแทรกเข้าไปในบริเวณสีขาวของกลางท้อง และขนโคนขนหางด้านล่าง ตัวเมียสีน้ำตาล มีสีส้ม-น้ำตาลแดงบริเวณคอหอย อกและสีข้างเช่นเดียวกับตัวผู้ บางครั้งหางจะเป็นสีน้ำเงิน หรือลายพาดสีน้ำเงินทางด้านบนลำตัว
ระบบนิเวศ :
-
พบตามป่าดิบขึ้น ป่าดงดิบแล้ง ป่าดงดิบเขา แต่บางครั้งก็พบในพื้นราบ กินแมลงต่างๆ เป็นอาหาร โดยการโฉบจับด้วยปากกลางอากาศ หรือระหว่างกิ่งไม้ต่างๆ
-
ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา
-
ระบบนิเวศภูเขา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
เชียงใหม่
-
เลย
-
พะเยา, แพร่
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน -มิถุนายน ทำรังด้วยมอสส์ รองพื้นด้วยมอสส์และรากฝอยของพืชต่างๆ เป็นรูปถ้วย ตามโพรงไม้ ตอไม้ ซอกหิน ไข่สีน้ำทะเลจาง หรือสีน้ำตาลแกมสีเนื้อ มีลายดอกดวงเล็กๆ สีน้ำตาลอ่อน หรือสีน้ำตาลแดงเป็นแถบรอบไข่ด้านป้าน ในแต่ละรังมีไข่ 4-5 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 11-12 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ป่าภูหลวง
-
ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าแม่คำมี แพร่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA921561
921561
2
PRJNA863021
863021
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมป่าไม้
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Cymatophoropsis formosana
นกกางเขนน้ำหัวขาวเหนือ
Enicurus sinensis
Pempheris oualensis
Iulotrichia decursaria
มอทหนอนมะไฟ
Pidorus atratus
ปักเป้าสุวัตถิ
Tetraodon suvattii
Previous
Next