-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Shrub, small tree.
-
ไม้ต้นหรือพุ่ม เนื้อแข็ง สูงได้ถึง 3 เมตร ลำต้นมีลักษณะคล้ายเป็นข้อสั้นๆ สีเทาดำ รูปตรงทรงกระบอกโคนป่องเล็กน้อย ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก สีเขียวเป็นมัน ยาว 60-90 ซม. ออกเรียงเวียนแน่นที่ปลายยอด ใบย่อยยาวแคบ มีจำนวนประมาณ 50-70 คู่ กว้าง 6 มม. ยาว 7.5-20 ซม. ปลายใบแข็งเป็นหนาม เส้นกลางใบนูนเห็นชัดทั้งสองด้าน ก้านใบยาวประมาณ 30 ซม. มีหนามที่สัน ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแน่น รูปโคมยาวแกมขอบขนาน ยาวประมาณ 30 ซม. กาบดอกเป็นแผ่นแข็ง รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 17 ซม. ด้านนอกเป็นรูปสามเหลี่ยม มีรยางค์แหลมที่ปลายตั้งขึ้น ดอกเพศเมียแผ่เป็นแผ่นคล้ายกาบ ขอบจักลึกคล้ายหนาม ยาว 10-10.5 ซม. ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. มีขนสีน้ำตาลอมเหลืองปกคลุมแน่น ตอนล่างมีไข่อ่อนติดอยู่ 1 คู่ ข้างละหนึ่งใบ เมล็ดรูปไข่แกมขอบขนาน สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง ยาวประมาณ 4 ซม.
-
ไม้ต้นหรือพุ่ม เนื้อแข็ง สูงได้ถึง 3 เมตร ลำต้นมีลักษณะคล้ายเป็นข้อสั้นๆ สีเทาดำ รูปตรงทรงกระบอกโคนป่องเล็กน้อย ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก สีเขียวเป็นมัน ยาว 60-90 ซม. ออกเรียงเวียนแน่นที่ปลายยอด ใบย่อยยาวแคบ มีจำนวนประมาณ 50-70 คู่ กว้าง 6 มม. ยาว 7.5-20 ซม. ปลายใบแข็งเป็นหนาม เส้นกลางใบนูนเห็นชัดทั้งสองด้าน ก้านใบยาวประมาณ 30 ซม. มีหนามที่สัน ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแน่น รูปโคมยาวแกมขอบขนาน ยาวประมาณ 30 ซม. กาบดอกเป็นแผ่นแข็ง รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 17 ซม. ด้านนอกเป็นรูปสามเหลี่ยม มีรยางค์แหลมที่ปลายตั้งขึ้น ดอกเพศเมียแผ่เป็นแผ่นคล้ายกาบ ขอบจักลึกคล้ายหนาม ยาว 10-10.5 ซม. ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. มีขนสีน้ำตาลอมเหลืองปกคลุมแน่น ตอนล่างมีไข่อ่อนติดอยู่ 1 คู่ ข้างละหนึ่งใบ เมล็ดรูปไข่แกมขอบขนาน สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง ยาวประมาณ 4 ซม.
-
ไม้ต้นหรือพุ่ม เนื้อแข็ง สูงได้ถึง 3 เมตร ลำต้นมีลักษณะคล้ายเป็นข้อสั้นๆ สีเทาดำ รูปตรงทรงกระบอกโคนป่องเล็กน้อย ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก สีเขียวเป็นมัน ยาว 60-90 ซม. ออกเรียงเวียนแน่นที่ปลายยอด ใบย่อยยาวแคบ มีจำนวนประมาณ 50-70 คู่ กว้าง 6 มม. ยาว 7.5-20 ซม. ปลายใบแข็งเป็นหนาม เส้นกลางใบนูนเห็นชัดทั้งสองด้าน ก้านใบยาวประมาณ 30 ซม. มีหนามที่สัน ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแน่น รูปโคมยาวแกมขอบขนาน ยาวประมาณ 30 ซม. กาบดอกเป็นแผ่นแข็ง รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 17 ซม. ด้านนอกเป็นรูปสามเหลี่ยม มีรยางค์แหลมที่ปลายตั้งขึ้น ดอกเพศเมียแผ่เป็นแผ่นคล้ายกาบ ขอบจักลึกคล้ายหนาม ยาว 10-10.5 ซม. ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. มีขนสีน้ำตาลอมเหลืองปกคลุมแน่น ตอนล่างมีไข่อ่อนติดอยู่ 1 คู่ ข้างละหนึ่งใบ เมล็ดรูปไข่แกมขอบขนาน สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง ยาวประมาณ 4 ซม.
-
ไม้ต้นหรือพุ่ม เนื้อแข็ง สูงได้ถึง 3 เมตร ลำต้นมีลักษณะคล้ายเป็นข้อสั้นๆ สีเทาดำ รูปตรงทรงกระบอกโคนป่องเล็กน้อย ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก สีเขียวเป็นมัน ยาว 60-90 ซม. ออกเรียงเวียนแน่นที่ปลายยอด ใบย่อยยาวแคบ มีจำนวนประมาณ 50-70 คู่ กว้าง 6 มม. ยาว 7.5-20 ซม. ปลายใบแข็งเป็นหนาม เส้นกลางใบนูนเห็นชัดทั้งสองด้าน ก้านใบยาวประมาณ 30 ซม. มีหนามที่สัน ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแน่น รูปโคมยาวแกมขอบขนาน ยาวประมาณ 30 ซม. กาบดอกเป็นแผ่นแข็ง รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 17 ซม. ด้านนอกเป็นรูปสามเหลี่ยม มีรยางค์แหลมที่ปลายตั้งขึ้น ดอกเพศเมียแผ่เป็นแผ่นคล้ายกาบ ขอบจักลึกคล้ายหนาม ยาว 10-10.5 ซม. ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. มีขนสีน้ำตาลอมเหลืองปกคลุมแน่น ตอนล่างมีไข่อ่อนติดอยู่ 1 คู่ ข้างละหนึ่งใบ เมล็ดรูปไข่แกมขอบขนาน สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง ยาวประมาณ 4 ซม.
-
ระบบนิเวศ :
-
Mixed deciduous and deciduous dipterocarp forests, to ca 500 m alt.
-
การกระจายพันธุ์ :
-
Myanmar, Indochina.
-
พบขึ้นในประเทศพม่า ไทย ลาว เวียดนาม และจีนตอนใต้ ในประเทศไทยขึ้นในป่าเบญจพรรณแล้งและป่าเต็งรังทั่วไป ที่ความสูง 20-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
ภาคเหนือ (ลำปาง แพร่ อุตรดิตถ์ ตาก กำแพงเพชร นครสวรรค์) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (เพชรบูรณ์ สกลนคร) ภาคตะวันออก (ชัยภูมิ นครราชสีมา อุบลราชธานี) และภาคตะวันตกเฉียงใต้ (อุทัยธานี กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์)
-
พบขึ้นในประเทศพม่า ไทย ลาว เวียดนาม และจีนตอนใต้ ในประเทศไทยขึ้นในป่าเบญจพรรณแล้งและป่าเต็งรังทั่วไป ที่ความสูง 20-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
พบขึ้นในประเทศพม่า ไทย ลาว เวียดนาม และจีนตอนใต้ ในประเทศไทยขึ้นในป่าเบญจพรรณแล้งและป่าเต็งรังทั่วไป ที่ความสูง 20-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
พบขึ้นในประเทศพม่า ไทย ลาว เวียดนาม และจีนตอนใต้ ในประเทศไทยขึ้นในป่าเบญจพรรณแล้งและป่าเต็งรังทั่วไป ที่ความสูง 20-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
Burma, Cambodia, Vietnam, Thailand
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Lampang,Tak,UthaiThani,Kanchanaburi,
SakonNakhon,NakhonRatchasima
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
อุบลราชธานี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่ม
-
ไม้ต้น
-
- ไม้ต้นหรือพุ่ม : เนื้อแข็ง สูงได้ถึง 3 เมตร ลำต้นมีลักษณะคล้ายเป็นข้อสั้นๆ สีเทาดำ รูปตรงทรงกระบอกโคนป่องเล็กน้อย
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก สีเขียวเป็นมัน ยาว 60-90 ซม. ออกเรียงเวียนแน่นที่ปลายยอด ใบย่อยยาวแคบ มีจำนวนประมาณ 50-70 คู่ กว้าง 6 มม. ยาว 7.5-20 ซม. ปลายใบแข็งเป็นหนาม เส้นกลางใบนูนเห็นชัดทั้งสองด้าน ก้านใบยาวประมาณ 30 ซม. มีหนามที่สัน
- ดอก : แยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแน่น รูปโคมยาวแกมขอบขนาน ยาวประมาณ 30 ซม. กาบดอกเป็นแผ่นแข็ง รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 17 ซม. ด้านนอกเป็นรูปสามเหลี่ยม มีรยางค์แหลมที่ปลายตั้งขึ้น ดอกเพศเมียแผ่เป็นแผ่นคล้ายกาบ ขอบจักลึกคล้ายหนาม ยาว 10-10.5 ซม. ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. มีขนสีน้ำตาลอมเหลืองปกคลุมแน่น ตอนล่างมีไข่อ่อนติดอยู่ 1 คู่ ข้างละหนึ่งใบ
- เมล็ด : รูปไข่แกมขอบขนาน สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง ยาวประมาณ 4 ซม.
-
- ไม้ต้นหรือพุ่ม : เนื้อแข็ง สูงได้ถึง 3 เมตร ลำต้นมีลักษณะคล้ายเป็นข้อสั้นๆ สีเทาดำ รูปตรงทรงกระบอกโคนป่องเล็กน้อย
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก สีเขียวเป็นมัน ยาว 60-90 ซม. ออกเรียงเวียนแน่นที่ปลายยอด ใบย่อยยาวแคบ มีจำนวนประมาณ 50-70 คู่ กว้าง 6 มม. ยาว 7.5-20 ซม. ปลายใบแข็งเป็นหนาม เส้นกลางใบนูนเห็นชัดทั้งสองด้าน ก้านใบยาวประมาณ 30 ซม. มีหนามที่สัน
- ดอก : แยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแน่น รูปโคมยาวแกมขอบขนาน ยาวประมาณ 30 ซม. กาบดอกเป็นแผ่นแข็ง รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 17 ซม. ด้านนอกเป็นรูปสามเหลี่ยม มีรยางค์แหลมที่ปลายตั้งขึ้น ดอกเพศเมียแผ่เป็นแผ่นคล้ายกาบ ขอบจักลึกคล้ายหนาม ยาว 10-10.5 ซม. ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. มีขนสีน้ำตาลอมเหลืองปกคลุมแน่น ตอนล่างมีไข่อ่อนติดอยู่ 1 คู่ ข้างละหนึ่งใบ
- เมล็ด : รูปไข่แกมขอบขนาน สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง ยาวประมาณ 4 ซม.
-
- ไม้ต้นหรือพุ่ม : เนื้อแข็ง สูงได้ถึง 3 เมตร ลำต้นมีลักษณะคล้ายเป็นข้อสั้นๆ สีเทาดำ รูปตรงทรงกระบอกโคนป่องเล็กน้อย
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก สีเขียวเป็นมัน ยาว 60-90 ซม. ออกเรียงเวียนแน่นที่ปลายยอด ใบย่อยยาวแคบ มีจำนวนประมาณ 50-70 คู่ กว้าง 6 มม. ยาว 7.5-20 ซม. ปลายใบแข็งเป็นหนาม เส้นกลางใบนูนเห็นชัดทั้งสองด้าน ก้านใบยาวประมาณ 30 ซม. มีหนามที่สัน
- ดอก : แยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแน่น รูปโคมยาวแกมขอบขนาน ยาวประมาณ 30 ซม. กาบดอกเป็นแผ่นแข็ง รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 17 ซม. ด้านนอกเป็นรูปสามเหลี่ยม มีรยางค์แหลมที่ปลายตั้งขึ้น ดอกเพศเมียแผ่เป็นแผ่นคล้ายกาบ ขอบจักลึกคล้ายหนาม ยาว 10-10.5 ซม. ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. มีขนสีน้ำตาลอมเหลืองปกคลุมแน่น ตอนล่างมีไข่อ่อนติดอยู่ 1 คู่ ข้างละหนึ่งใบ
- เมล็ด : รูปไข่แกมขอบขนาน สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง ยาวประมาณ 4 ซม.
-
- ไม้ต้นหรือพุ่ม : เนื้อแข็ง สูงได้ถึง 3 เมตร ลำต้นมีลักษณะคล้ายเป็นข้อสั้นๆ สีเทาดำ รูปตรงทรงกระบอกโคนป่องเล็กน้อย
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก สีเขียวเป็นมัน ยาว 60-90 ซม. ออกเรียงเวียนแน่นที่ปลายยอด ใบย่อยยาวแคบ มีจำนวนประมาณ 50-70 คู่ กว้าง 6 มม. ยาว 7.5-20 ซม. ปลายใบแข็งเป็นหนาม เส้นกลางใบนูนเห็นชัดทั้งสองด้าน ก้านใบยาวประมาณ 30 ซม. มีหนามที่สัน
- ดอก : แยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแน่น รูปโคมยาวแกมขอบขนาน ยาวประมาณ 30 ซม. กาบดอกเป็นแผ่นแข็ง รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 17 ซม. ด้านนอกเป็นรูปสามเหลี่ยม มีรยางค์แหลมที่ปลายตั้งขึ้น ดอกเพศเมียแผ่เป็นแผ่นคล้ายกาบ ขอบจักลึกคล้ายหนาม ยาว 10-10.5 ซม. ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. มีขนสีน้ำตาลอมเหลืองปกคลุมแน่น ตอนล่างมีไข่อ่อนติดอยู่ 1 คู่ ข้างละหนึ่งใบ
- เมล็ด : รูปไข่แกมขอบขนาน สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง ยาวประมาณ 4 ซม.
-
- ไม้ต้นหรือพุ่ม : เนื้อแข็ง สูงได้ถึง 3 เมตร ลำต้นมีลักษณะคล้ายเป็นข้อสั้นๆ สีเทาดำ รูปตรงทรงกระบอกโคนป่องเล็กน้อย
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก สีเขียวเป็นมัน ยาว 60-90 ซม. ออกเรียงเวียนแน่นที่ปลายยอด ใบย่อยยาวแคบ มีจำนวนประมาณ 50-70 คู่ กว้าง 6 มม. ยาว 7.5-20 ซม. ปลายใบแข็งเป็นหนาม เส้นกลางใบนูนเห็นชัดทั้งสองด้าน ก้านใบยาวประมาณ 30 ซม. มีหนามที่สัน
- ดอก : แยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแน่น รูปโคมยาวแกมขอบขนาน ยาวประมาณ 30 ซม. กาบดอกเป็นแผ่นแข็ง รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 17 ซม. ด้านนอกเป็นรูปสามเหลี่ยม มีรยางค์แหลมที่ปลายตั้งขึ้น ดอกเพศเมียแผ่เป็นแผ่นคล้ายกาบ ขอบจักลึกคล้ายหนาม ยาว 10-10.5 ซม. ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. มีขนสีน้ำตาลอมเหลืองปกคลุมแน่น ตอนล่างมีไข่อ่อนติดอยู่ 1 คู่ ข้างละหนึ่งใบ
- เมล็ด : รูปไข่แกมขอบขนาน สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง ยาวประมาณ 4 ซม.
-
ไม้พุ่ม
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ผาแต้ม
-
Deciduous dipterocarp forest.
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา