Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Curcuma mangga
Curcuma mangga
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Curcuma mangga
Valeton & Zijp
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Mango ginger
ชื่อไทย::
-
ขมิ้นขาว
ชื่อท้องถิ่น::
-
ขมิ้นขาว
-
-
-
ขมิ้นม่วง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Zingiberales
วงศ์::
Zingiberaceae
สกุล:
Curcuma
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:39 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:39 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
Cultivated.
-
เจริญดีในดินที่อุดมสมบูรณ์ สามารถระบายน้ำได้ดี ดินร่วนปนทรายเจริญได้ดีมาก ขมิ้นขาวชอบแสงแดดจึงควรปลูกกลางแจ้ง
การกระจายพันธุ์ :
-
P Malaysia, Java.
-
การกระจายพันธุ์และนิเวศวิทยา ปลูกกันทั่วไป ออกดอกในราวเดือนพฤษภาคม ต่างประเทศพบปลูกในประเทศมาเลเซีย และ อินโดนีเซีย
-
การกระจายพันธุ์และนิเวศวิทยา ปลูกกันทั่วไป ออกดอกในราวเดือนพฤษภาคม ต่างประเทศพบปลูกในประเทศมาเลเซีย และ อินโดนีเซีย
-
การกระจายพันธุ์และนิเวศวิทยา ปลูกกันทั่วไป ออกดอกในราวเดือนพฤษภาคม ต่างประเทศพบปลูกในประเทศมาเลเซีย และ อินโดนีเซีย
-
การกระจายพันธุ์และนิเวศวิทยา ปลูกกันทั่วไป ออกดอกในราวเดือนพฤษภาคม ต่างประเทศพบปลูกในประเทศมาเลเซีย และ อินโดนีเซีย
-
พบเป็นพืชปลูกในประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Cultivated
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
หัวรูปไข่ ขนาด 3-4 X 2-3 ซม. ภายในมีสีขาวบริเวณแกนกลางหัวมีสีเหลืองอ่อนจนเกือบขาว เหง้าแตกสาขา หนาประมาณ 1.5 ซม. สีขาวส่วนแกนกลางสีเหลือง ส่วนหัวและเหง้ามีกลิ่นคล้ายมะม่วง ส่วนเหนือดินสูง 60-80 ซม. ใบรูปรี สีเขียวทั้งใบ ผิวใบเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ช่อดอกเกิดจากเหง้ส ก้านช่อยาวประมาณ 20 ซม. ช่อดอก ยาว 25-30 ซม. ใบประดับ สีขาวอมเขียวส่วนปลายแต้มสีเขียว ใบประดับส่วนยอด สีขาวปลายแต้มสีชมพู กลีบดอกและสเตมิโนดมีสีขาว สเตมิโนดรูปไข่กลับ ปลายมน มีต่อมขน กลีบปาก สีเหลืองและมีแถบเหลืองเข้มทาบตามแนวเส้นกลางแผ่น มีต่อมขนขนาบ 2 ข้างเส้นกลางแผ่น อับเรณูมีเดือยเป็นแผ่นสามเหลื่ยมแบน ปลายเรียวแหลม ชี้ลง ยาวประมาณ 3 มม. รังไข่ยาวประมาณ 3 มม. ผิวมีขน
-
หัวรูปไข่ ขนาด 3-4 X 2-3 ซม. ภายในมีสีขาวบริเวณแกนกลางหัวมีสีเหลืองอ่อนจนเกือบขาว เหง้าแตกสาขา หนาประมาณ 1.5 ซม. สีขาวส่วนแกนกลางสีเหลือง ส่วนหัวและเหง้ามีกลิ่นคล้ายมะม่วง ส่วนเหนือดินสูง 60-80 ซม. ใบรูปรี สีเขียวทั้งใบ ผิวใบเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ช่อดอกเกิดจากเหง้ส ก้านช่อยาวประมาณ 20 ซม. ช่อดอก ยาว 25-30 ซม. ใบประดับ สีขาวอมเขียวส่วนปลายแต้มสีเขียว ใบประดับส่วนยอด สีขาวปลายแต้มสีชมพู กลีบดอกและสเตมิโนดมีสีขาว สเตมิโนดรูปไข่กลับ ปลายมน มีต่อมขน กลีบปาก สีเหลืองและมีแถบเหลืองเข้มทาบตามแนวเส้นกลางแผ่น มีต่อมขนขนาบ 2 ข้างเส้นกลางแผ่น อับเรณูมีเดือยเป็นแผ่นสามเหลื่ยมแบน ปลายเรียวแหลม ชี้ลง ยาวประมาณ 3 มม. รังไข่ยาวประมาณ 3 มม. ผิวมีขน
-
หัวรูปไข่ ขนาด 3-4 X 2-3 ซม. ภายในมีสีขาวบริเวณแกนกลางหัวมีสีเหลืองอ่อนจนเกือบขาว เหง้าแตกสาขา หนาประมาณ 1.5 ซม. สีขาวส่วนแกนกลางสีเหลือง ส่วนหัวและเหง้ามีกลิ่นคล้ายมะม่วง ส่วนเหนือดินสูง 60-80 ซม. ใบรูปรี สีเขียวทั้งใบ ผิวใบเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ช่อดอกเกิดจากเหง้ส ก้านช่อยาวประมาณ 20 ซม. ช่อดอก ยาว 25-30 ซม. ใบประดับ สีขาวอมเขียวส่วนปลายแต้มสีเขียว ใบประดับส่วนยอด สีขาวปลายแต้มสีชมพู กลีบดอกและสเตมิโนดมีสีขาว สเตมิโนดรูปไข่กลับ ปลายมน มีต่อมขน กลีบปาก สีเหลืองและมีแถบเหลืองเข้มทาบตามแนวเส้นกลางแผ่น มีต่อมขนขนาบ 2 ข้างเส้นกลางแผ่น อับเรณูมีเดือยเป็นแผ่นสามเหลื่ยมแบน ปลายเรียวแหลม ชี้ลง ยาวประมาณ 3 มม. รังไข่ยาวประมาณ 3 มม. ผิวมีขน
-
หัวรูปไข่ ขนาด 3-4 X 2-3 ซม. ภายในมีสีขาวบริเวณแกนกลางหัวมีสีเหลืองอ่อนจนเกือบขาว เหง้าแตกสาขา หนาประมาณ 1.5 ซม. สีขาวส่วนแกนกลางสีเหลือง ส่วนหัวและเหง้ามีกลิ่นคล้ายมะม่วง ส่วนเหนือดินสูง 60-80 ซม. ใบรูปรี สีเขียวทั้งใบ ผิวใบเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ช่อดอกเกิดจากเหง้ส ก้านช่อยาวประมาณ 20 ซม. ช่อดอก ยาว 25-30 ซม. ใบประดับ สีขาวอมเขียวส่วนปลายแต้มสีเขียว ใบประดับส่วนยอด สีขาวปลายแต้มสีชมพู กลีบดอกและสเตมิโนดมีสีขาว สเตมิโนดรูปไข่กลับ ปลายมน มีต่อมขน กลีบปาก สีเหลืองและมีแถบเหลืองเข้มทาบตามแนวเส้นกลางแผ่น มีต่อมขนขนาบ 2 ข้างเส้นกลางแผ่น อับเรณูมีเดือยเป็นแผ่นสามเหลื่ยมแบน ปลายเรียวแหลม ชี้ลง ยาวประมาณ 3 มม. รังไข่ยาวประมาณ 3 มม. ผิวมีขน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
วิสัยพืช พืชล้มลุก ต้นมีอายุปีเดียว แต่เหง้าสามารถเจริญได้ต่อไป เหง้าและลำต้น เหง้าแตกเป็นแง่ง ด้านนอกสีเหลือง ส่วนหัวสีขาว เนื้อแกนในสีออกเหลือง เนื้อชั้นนอกสีขาว ลำต้นบนดินเป็นลำต้นเทียม สูงได้ถึงประมาณ 2 เมตร ใบ แผ่นใบรูปรียาวถึงรูปหอกกลับ ขนาด 15-95 x
การขยายพันธุ์ :
-
แยกเหง้า
การเก็บเกี่ยว :
-
อายุ 8-9 เดือน ฤดูกาลเก็บส่วนขยายพันธุ์เป็นช่วงฤดูฝน ประมาณเดือนพฤษภาคม
พื้นที่เพาะปลูก :
-
ยังปลูกไม่แพร่หลาย ไม่มีรายงานการปลูกทางสถิติ แต่พบปลูกทางการค้าที่จังหวัดกาญจนบุรี และทางภาคเหนือ
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
แคหางค่าง
Femandoa adenophylla
Porpax grandiflora
Castanopsis rhamnifolia
โชคนุ้ย
Bauhinia strychnoidea
Dioscorea membranacea
Ascocentrum semiteretifolium
Previous
Next