Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Curcuma latifolia
Curcuma latifolia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Curcuma latifolia
Rosc.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
มหากำลัง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Zingiberales
วงศ์::
Zingiberaceae
สกุล:
Curcuma
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:39 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:39 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
In deciduous forests, c 200-1,000 m. alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Myanmar, India.
-
พบที่ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ในป่าผลัดใบ ออกดอกตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - กันยายน กระจายพันธุ์ที่พม่า และอินเดีย
-
พบที่ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ในป่าผลัดใบ ออกดอกตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - กันยายน กระจายพันธุ์ที่พม่า และอินเดีย
-
พบที่ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ในป่าผลัดใบ ออกดอกตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - กันยายน กระจายพันธุ์ที่พม่า และอินเดีย
-
พบที่ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ในป่าผลัดใบ ออกดอกตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - กันยายน กระจายพันธุ์ที่พม่า และอินเดีย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ChiangMai,Chanthaburi
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
หัวรูปไข่ขนาดใหญ่ ภายในสีนํ้าตาลอ่อน ส่วนเหนือดิน สูง 1.5 - 1.8 ม. ใบรูปรีแกมขอบขนาน ช่อดอกเกิดกลางกลุม่ ใบหรือเกิดจากเหงา้ ใบประดับรูปไข่กลับ แกมขอบขนาน ปลายมน สีขาวมีริ้วสีเขียวอ่อน ผิวมีขนทั้ง 2 ด้าน ใบประดับส่วนยอดสีชมพู ปลายเข้มจนเกือบแดง กลีบดอกและสเตมิโนดสีขาว สเตมิโนด รูปไข่กลับ มีต่อมขน กลีบปากรูปไข่กลับ สีเหลือง อ่อน มีแถบสีเหลืองสดตามแนวเส้นกลางแผ่น อับเรณูมีเดือยเป็นแผ่นสามเหลี่ยมปลายแหลม ชี้ลง
-
หัวรูปไข่ขนาดใหญ่ ภายในสีนํ้าตาลอ่อน ส่วนเหนือดิน สูง 1.5 - 1.8 ม. ใบรูปรีแกมขอบขนาน ช่อดอกเกิดกลางกลุม่ ใบหรือเกิดจากเหงา้ ใบประดับรูปไข่กลับ แกมขอบขนาน ปลายมน สีขาวมีริ้วสีเขียวอ่อน ผิวมีขนทั้ง 2 ด้าน ใบประดับส่วนยอดสีชมพู ปลายเข้มจนเกือบแดง กลีบดอกและสเตมิโนดสีขาว สเตมิโนด รูปไข่กลับ มีต่อมขน กลีบปากรูปไข่กลับ สีเหลือง อ่อน มีแถบสีเหลืองสดตามแนวเส้นกลางแผ่น อับเรณูมีเดือยเป็นแผ่นสามเหลี่ยมปลายแหลม ชี้ลง
-
หัวรูปไข่ขนาดใหญ่ ภายในสีนํ้าตาลอ่อน ส่วนเหนือดิน สูง 1.5 - 1.8 ม. ใบรูปรีแกมขอบขนาน ช่อดอกเกิดกลางกลุม่ ใบหรือเกิดจากเหงา้ ใบประดับรูปไข่กลับ แกมขอบขนาน ปลายมน สีขาวมีริ้วสีเขียวอ่อน ผิวมีขนทั้ง 2 ด้าน ใบประดับส่วนยอดสีชมพู ปลายเข้มจนเกือบแดง กลีบดอกและสเตมิโนดสีขาว สเตมิโนด รูปไข่กลับ มีต่อมขน กลีบปากรูปไข่กลับ สีเหลือง อ่อน มีแถบสีเหลืองสดตามแนวเส้นกลางแผ่น อับเรณูมีเดือยเป็นแผ่นสามเหลี่ยมปลายแหลม ชี้ลง
-
หัวรูปไข่ขนาดใหญ่ ภายในสีนํ้าตาลอ่อน ส่วนเหนือดิน สูง 1.5 - 1.8 ม. ใบรูปรีแกมขอบขนาน ช่อดอกเกิดกลางกลุม่ ใบหรือเกิดจากเหงา้ ใบประดับรูปไข่กลับ แกมขอบขนาน ปลายมน สีขาวมีริ้วสีเขียวอ่อน ผิวมีขนทั้ง 2 ด้าน ใบประดับส่วนยอดสีชมพู ปลายเข้มจนเกือบแดง กลีบดอกและสเตมิโนดสีขาว สเตมิโนด รูปไข่กลับ มีต่อมขน กลีบปากรูปไข่กลับ สีเหลือง อ่อน มีแถบสีเหลืองสดตามแนวเส้นกลางแผ่น อับเรณูมีเดือยเป็นแผ่นสามเหลี่ยมปลายแหลม ชี้ลง
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เปล้าน้อย
Croton subiyratus
Pogostemon hispidus
Hedyotis scabra
Malaxis concava
Hedyotis kurzii
Peronema canescens
Previous
Next