Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Curcuma ecomata
Curcuma ecomata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Curcuma ecomata
Craib
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
กระเจียวสุเทพ
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Zingiberales
วงศ์::
Zingiberaceae
สกุล:
Curcuma
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:39 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:39 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
In deciduous and dry evergreen forests, 400-1,300 m. alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Endemic to N Region.
-
เป็นพืชถิ่นเดียวทางภาคเหนือของประเทศไทย ขึ้นในป่าผลัดใบและป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 400-1300 ม. ช่วงออกดอกตั้งแต่เดือน เมษายน-กรกฎาคม
-
N Thailand: Chiang Mai (Doi Suthep)
-
เป็นพืชถิ่นเดียวทางภาคเหนือของประเทศไทย ขึ้นในป่าผลัดใบและป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 400-1300 ม. ช่วงออกดอกตั้งแต่เดือน เมษายน-กรกฎาคม
-
เป็นพืชถิ่นเดียวทางภาคเหนือของประเทศไทย ขึ้นในป่าผลัดใบและป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 400-1300 ม. ช่วงออกดอกตั้งแต่เดือน เมษายน-กรกฎาคม
-
เป็นพืชถิ่นเดียวทางภาคเหนือของประเทศไทย ขึ้นในป่าผลัดใบและป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 400-1300 ม. ช่วงออกดอกตั้งแต่เดือน เมษายน-กรกฎาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ChiangMai,ChiangRai,MaeHongSon
-
Endemic
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
หัวรูปไข่ค่อนข้างกลม ขนาด 3-5 x 3-4 ซม. เหง้าสั้นมาก ภายในสีน้ำตาลอ่อน ส่วนเหนือดินสูง 30-50 ซม. ใบรูปไข่แกมรูปหอก สีเขียวทั้งใบหรือมีแถบสีแดงตามแนวยาวของเส้นกลางใบ ฐานใบรูปลิ่ม ปลายใบเรียวแหลม ขนาด 15-45 x 5-12 ซม. ช่อดอกเกิดกลางกลุ่มใบหรือเกิดจากเหง้า ก้านช่อยาว 3-15 ซม. ช่อดอกยาว 5-10 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ปลายแหลม สีเขียว ขาว หรือม่วงปนเขียว กลีบดอก สเตมิโนด และกลีบปากมีสีม่วงอ่อนถึงม่วงเข้มอมแดง แผ่นกลีบปากมีแถบสีเหลืองสดทาบตามแนวเส้นกลางแผ่น อับเรณูมีเดือยรูปกรวยปลายแหลม ชี้ลงและเฉียงออกด้านข้าง ยาว 4-5 มม. รังไข่ยาวประมาณ 4 มม. ผิวมีขน
-
หัวรูปไข่ค่อนข้างกลม ขนาด 3-5 x 3-4 ซม. เหง้าสั้นมาก ภายในสีน้ำตาลอ่อน ส่วนเหนือดินสูง 30-50 ซม. ใบรูปไข่แกมรูปหอก สีเขียวทั้งใบหรือมีแถบสีแดงตามแนวยาวของเส้นกลางใบ ฐานใบรูปลิ่ม ปลายใบเรียวแหลม ขนาด 15-45 x 5-12 ซม. ช่อดอกเกิดกลางกลุ่มใบหรือเกิดจากเหง้า ก้านช่อยาว 3-15 ซม. ช่อดอกยาว 5-10 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ปลายแหลม สีเขียว ขาว หรือม่วงปนเขียว กลีบดอก สเตมิโนด และกลีบปากมีสีม่วงอ่อนถึงม่วงเข้มอมแดง แผ่นกลีบปากมีแถบสีเหลืองสดทาบตามแนวเส้นกลางแผ่น อับเรณูมีเดือยรูปกรวยปลายแหลม ชี้ลงและเฉียงออกด้านข้าง ยาว 4-5 มม. รังไข่ยาวประมาณ 4 มม. ผิวมีขน
-
หัวรูปไข่ค่อนข้างกลม ขนาด 3-5 x 3-4 ซม. เหง้าสั้นมาก ภายในสีน้ำตาลอ่อน ส่วนเหนือดินสูง 30-50 ซม. ใบรูปไข่แกมรูปหอก สีเขียวทั้งใบหรือมีแถบสีแดงตามแนวยาวของเส้นกลางใบ ฐานใบรูปลิ่ม ปลายใบเรียวแหลม ขนาด 15-45 x 5-12 ซม. ช่อดอกเกิดกลางกลุ่มใบหรือเกิดจากเหง้า ก้านช่อยาว 3-15 ซม. ช่อดอกยาว 5-10 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ปลายแหลม สีเขียว ขาว หรือม่วงปนเขียว กลีบดอก สเตมิโนด และกลีบปากมีสีม่วงอ่อนถึงม่วงเข้มอมแดง แผ่นกลีบปากมีแถบสีเหลืองสดทาบตามแนวเส้นกลางแผ่น อับเรณูมีเดือยรูปกรวยปลายแหลม ชี้ลงและเฉียงออกด้านข้าง ยาว 4-5 มม. รังไข่ยาวประมาณ 4 มม. ผิวมีขน
-
หัวรูปไข่ค่อนข้างกลม ขนาด 3-5 x 3-4 ซม. เหง้าสั้นมาก ภายในสีน้ำตาลอ่อน ส่วนเหนือดินสูง 30-50 ซม. ใบรูปไข่แกมรูปหอก สีเขียวทั้งใบหรือมีแถบสีแดงตามแนวยาวของเส้นกลางใบ ฐานใบรูปลิ่ม ปลายใบเรียวแหลม ขนาด 15-45 x 5-12 ซม. ช่อดอกเกิดกลางกลุ่มใบหรือเกิดจากเหง้า ก้านช่อยาว 3-15 ซม. ช่อดอกยาว 5-10 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ปลายแหลม สีเขียว ขาว หรือม่วงปนเขียว กลีบดอก สเตมิโนด และกลีบปากมีสีม่วงอ่อนถึงม่วงเข้มอมแดง แผ่นกลีบปากมีแถบสีเหลืองสดทาบตามแนวเส้นกลางแผ่น อับเรณูมีเดือยรูปกรวยปลายแหลม ชี้ลงและเฉียงออกด้านข้าง ยาว 4-5 มม. รังไข่ยาวประมาณ 4 มม. ผิวมีขน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ล้มลุก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Mixed deciduous forest, 600 m.
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Pholidota chinensis
Dichanthium sericeum
เบื้อแดง
Euphorbia parviflora
ทังช่อ
Litsea costalis
Pottsia laxiflora
Bulbophyllum subtenellum
Previous
Next