Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Curcuma aeruginosa
Curcuma aeruginosa
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Curcuma aeruginosa
Roxb.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
ว่านมหาเมฆ
ชื่อท้องถิ่น::
-
ว่านมหาเมฆ
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Zingiberales
วงศ์::
Zingiberaceae
สกุล:
Curcuma
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:39 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:39 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
Cultivated.
การกระจายพันธุ์ :
-
India, Myanmar, Indochina and Peninsular Malaysia.
-
ปลูกกันแพร่หลายเป็นพืชสมุนไพร ในมาเลเซีย อินเดีย และประเทศแถบอินโดจีน
-
ปลูกกันแพร่หลายเป็นพืชสมุนไพร ในมาเลเซีย อินเดีย และประเทศแถบอินโดจีน
-
ปลูกกันแพร่หลายเป็นพืชสมุนไพร ในมาเลเซีย อินเดีย และประเทศแถบอินโดจีน
-
ปลูกกันแพร่หลายเป็นพืชสมุนไพร ในมาเลเซีย อินเดีย และประเทศแถบอินโดจีน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Cultivated
-
นครศรีธรรมราช
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
เหง้าสีสนิมทองแดง รูปไข่ ขนาด 4-7 x 3-5 ซม. ด้านในของเหง้าสีฟ้าอมเขียว ส่วนเหนือดินสูง 80-90 ซม. ใบรูปร่างไข่กลับแกมรูปรี ขนาด 35-45 x 9-12 ซม. สีเขียว มีแถบสีม่วงขนานตามแนวเส้นกลางใบ ช่อดอกเกิดจากเหง้า ใบประดับสีเขียว ใบประดับส่วนยอด สีชมพูหรือแดง กลีบดอกสีแดง เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันและกลีบปากสีเหลือง อับเรณูมีเดือยเป็นแผ่นสามเหลี่ยมปลายแหลม ชี้ลง รังไข่มีขนคลุม
-
เหง้าสีสนิมทองแดง รูปไข่ ขนาด 4-7 x 3-5 ซม. ด้านในของเหง้าสีฟ้าอมเขียว ส่วนเหนือดินสูง 80-90 ซม. ใบรูปร่างไข่กลับแกมรูปรี ขนาด 35-45 x 9-12 ซม. สีเขียว มีแถบสีม่วงขนานตามแนวเส้นกลางใบ ช่อดอกเกิดจากเหง้า ใบประดับสีเขียว ใบประดับส่วนยอด สีชมพูหรือแดง กลีบดอกสีแดง เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันและกลีบปากสีเหลือง อับเรณูมีเดือยเป็นแผ่นสามเหลี่ยมปลายแหลม ชี้ลง รังไข่มีขนคลุม
-
เหง้าสีสนิมทองแดง รูปไข่ ขนาด 4-7 x 3-5 ซม. ด้านในของเหง้าสีฟ้าอมเขียว ส่วนเหนือดินสูง 80-90 ซม. ใบรูปร่างไข่กลับแกมรูปรี ขนาด 35-45 x 9-12 ซม. สีเขียว มีแถบสีม่วงขนานตามแนวเส้นกลางใบ ช่อดอกเกิดจากเหง้า ใบประดับสีเขียว ใบประดับส่วนยอด สีชมพูหรือแดง กลีบดอกสีแดง เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันและกลีบปากสีเหลือง อับเรณูมีเดือยเป็นแผ่นสามเหลี่ยมปลายแหลม ชี้ลง รังไข่มีขนคลุม
-
เหง้าสีสนิมทองแดง รูปไข่ ขนาด 4-7 x 3-5 ซม. ด้านในของเหง้าสีฟ้าอมเขียว ส่วนเหนือดินสูง 80-90 ซม. ใบรูปร่างไข่กลับแกมรูปรี ขนาด 35-45 x 9-12 ซม. สีเขียว มีแถบสีม่วงขนานตามแนวเส้นกลางใบ ช่อดอกเกิดจากเหง้า ใบประดับสีเขียว ใบประดับส่วนยอด สีชมพูหรือแดง กลีบดอกสีแดง เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันและกลีบปากสีเหลือง อับเรณูมีเดือยเป็นแผ่นสามเหลี่ยมปลายแหลม ชี้ลง รังไข่มีขนคลุม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ราก - เป็นระบบรากฝอย กระจายออกจากเหง้าใต้ดิน มีบริเวณใกล้ปลายของรากมีการสะสมอาหารทำให้พองโตเป็นก้อนขนาดใหญ่
ลำต้น - มีลำต้นแท้ใต้ดิน หรือที่เรียกว่า เหง้าหรือหัว หัวมีลักษณะค่อนข้างกลม แตกแขนงออกเป็นแง่ง คล้ายหัวขิง
ใบ/กาบใบ - เป็นลำต้นเทียมที่แตกออกมาจากเหง้าใต้ดิน โผล่ขึ้นมามองให้เห็นเหนือดิน ใบเป็นใบเดี่ยว ใบและกาบใบมีสีเขียว เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง กาบใบยาวประมาณ 5-10 ซม. ตัวใบกว้างประมาณ 7-10 ซม. ยาวประมาณ 15-23 ซม. ใบมีลักษณะคล้ายใบขิง เรียวยาวเป็นรูปหอก ใบจะแห้งและร่วงไปในช่วงหน้าหนาวเดือนธันวาคม เหลือเพียงหัวที่อยู่ใต้ดิน จนถึงต้นหน้าฝนหลังฝนตกแล้วจึงค่อยออกดอกให้เห็น พร้อมกับเริ่มแทงใบใหม่ออกมาหลังดอกบาน
ดอก - ออกเป็นช่อ แทงออกบริเวณใจกลางของลำต้น มีก้านดอกมักเป็นสีขาวหรือสีแดงม่วง ส่วนตัวดอกที่มองเห็นจะเป็นใบประดับ มักมีหลายสีผสมกัน อาทิ สีแดง สีชมพู สีขาว สีม่วง และสีเหลือง ก้านดอกมีลักษณะทรงกลมยาว ขนาดประมาณ 0.5-1 ซม. ยาวประมาณ 3-8 ซม. ตัวดอกประกอบด้วยใบประดับจำนวนมาก เรียงซ้อนกันขึ้นสูงเป็นรูปทรงกระบอก ยาวประมาณ 10-18 ซม. ภายในใบประดับจะเป็นดอกจริงที่มีรูปร่างคล้ายดอกกล้วยไม้ มีลักษณะเป็นหลอด มีกลีบดอกเป็นสีม่วง แต้มด้วยสีเหลือง โดยในแต่ละซอกของใบประดับจะดอก 2-7 ดอก และจะพัฒนาได้เป็นผลเพียง 2 ผล เนื่องจากผลมีขนาดใหญ่และอยู่ภายในซอกใบประดับได้เพียง 2 ผล ทั้งนี้ ดอกจะบานในช่วงเช้าหลังได้รับแสงแดด และจะค่อย
เหี่ยวในช่วงบ่าย ดอกออกเพียงปีละครั้ง ในช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม ของทุกปี
ผล - พัฒนามาจากดอก ซึ่งส่วนมากในซอกของใบประดับมักพบประมาณ 2 ผล ผล
มีลักษณะกลม ภายในเป็นเมล็ดที่มีรูปร่างคล้ายเมล็ดองุ่น ด้านปลายของเมล็ดมีเยื่อบางๆ สีขาว เมล็ดมีลักษณะเป็นแฉก
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
-
นำเหง้าเคี้ยวกิน (หรือจะเคี้ยวกับเกลือ) ช่วยบรรเทาอาการไอ หรือต้มดื่มแก้ท้องเสีย
-
4.1 Medicine for human (ยารักษาโรคมนุษย์)
ข้อมูลภูมิปัญญา
-
ขมิ้นดำ :: ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma aeruginosa Roxb.ชื่อวงศ์ : ZINGIBERACEAEชื่ออื่น ๆ : ว่านมหาเมฆ, ว่านขมิ้นดำ, อาวแดง, กระเจียวแดง, ขิงเนื้อดำ, ขิงดำ, ขิงสีน้ำเงินลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :- วิสัย : ไม้ล้มลุก อายุหลายปี- ลำต้น : แบ่งออกเป็น 2 ประเภท1 ) ลำต้นแท้ที่อยู่ใต้ดิน เราเรียกว่า “เหง้า”2 ) ลำต้นเทียมที่ขึ้นมาเหนือดินให้เห็น - เหง้า : เหง้าหลักรูปไข่ ข้อตามเหง้าแตกแขนงออกทั้งสองข้าง ข้อห่างหัวสั้นเป็นปุ่ม ภายนอกสีน้ำตาล ภายในมีสีเหลืองอมเขียวอ่อน หรือสีม่วงอมน้ำเงิน จึงมีคนเรียกว่า "ขิงดำ" หรือ "ขิงสีน้ำเงิน" มีกลิ่นหอมฉุน - ใบ : ใบเดี่ยว แทงขึ้นมาจากเหง้า ที่โคนใบจะมีกาบใบสีม่วงอมเขียวเรียงซ้อนกันเ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA918644
918644
2
PRJNA793382
793382
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dendrobium deltatum
Dendrobium singaporense
Uvaria dasoclema
Nephrolepis radicans
Antidesma microphyllum
จันทน์เทศ
Myristica fragrans
Previous
Next