-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Terrestrial, epiphytic or lithophytic fern.
-
เป็นเฟินอากาศที่มีเหง้าใหญ่ เจริญโอบรอบต้นไม้ ปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาล้อมแดงเป็นมันเงาแน่น ใบหนาแข็ง มีลักษณะเป็นหยักลึกเกือบถึงก้านใบทั้งสองด้าน ใบยาวมากกว่า 1 เมตร กว้าง 60 ซม. ผิวเรียบเป็นมัน โคนใบขยายออกเป็นแผ่น โอบหุ้มลำต้น เพื่อป้องกันการสูญเสียความชื้น กลุ่มของอับสปอร์มีรูปร่างค่อนข้างกลม
-
ใบเรียงชิดกัน ขอบใบหยักเว้าเกือบเป็นใบประกอบแบบขนนก 1 ชั้น ยาว 163 เซนติเมตร กว้าง 46 เซนติเมตร โคนใบแผ่กว้างและประกบกับกิ่งที่เกาะ ซึ่งมัลักษณะคล้ายใบกระแตไต่ไม้ ใบแบบเอกสัณฐาน
-
ใบเดี่ยวขอบใบหยักแบบขนนก เกือบเป็นใบประกอบแบบขนนก 1 ชั้น ฐานใบแผ่กว้างโอบซ้อนกันและเกิดเป็นแอ่งตรงกลาง
-
เป็นเฟินอากาศที่มีเหง้าใหญ่ เจริญโอบรอบต้นไม้ ปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาล้อมแดงเป็นมันเงาแน่น ใบหนาแข็ง มีลักษณะเป็นหยักลึกเกือบถึงก้านใบทั้งสองด้าน ใบยาวมากกว่า 1 เมตร กว้าง 60 ซม. ผิวเรียบเป็นมัน โคนใบขยายออกเป็นแผ่น โอบหุ้มลำต้น เพื่อป้องกันการสูญเสียความชื้น กลุ่มของอับสปอร์มีรูปร่างค่อนข้างกลม
-
เป็นเฟินอากาศที่มีเหง้าใหญ่ เจริญโอบรอบต้นไม้ ปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาล้อมแดงเป็นมันเงาแน่น ใบหนาแข็ง มีลักษณะเป็นหยักลึกเกือบถึงก้านใบทั้งสองด้าน ใบยาวมากกว่า 1 เมตร กว้าง 60 ซม. ผิวเรียบเป็นมัน โคนใบขยายออกเป็นแผ่น โอบหุ้มลำต้น เพื่อป้องกันการสูญเสียความชื้น กลุ่มของอับสปอร์มีรูปร่างค่อนข้างกลม
-
เป็นเฟินอากาศที่มีเหง้าใหญ่ เจริญโอบรอบต้นไม้ ปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาล้อมแดงเป็นมันเงาแน่น ใบหนาแข็ง มีลักษณะเป็นหยักลึกเกือบถึงก้านใบทั้งสองด้าน ใบยาวมากกว่า 1 เมตร กว้าง 60 ซม. ผิวเรียบเป็นมัน โคนใบขยายออกเป็นแผ่น โอบหุ้มลำต้น เพื่อป้องกันการสูญเสียความชื้น กลุ่มของอับสปอร์มีรูปร่างค่อนข้างกลม
-
ระบบนิเวศ :
-
On rather dry or mossy rocks or tree-trunks in open
places or in dense forest, at medium altitudes.
-
การกระจายพันธุ์ :
-
Himalayas to S China, Indochina, Taiwan and northwards to the Ryukyus.
-
มักพบขึ้นตามลำต้นไม้ใหญ่ ตามโขดหิน ในป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบโดยทั่วไปใกล้แนวลำธาร
-
มักพบขึ้นตามลำต้นไม้ใหญ่ ตามโขดหิน ในป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบโดยทั่วไปใกล้แนวลำธาร
-
มักพบขึ้นตามลำต้นไม้ใหญ่ ตามโขดหิน ในป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบโดยทั่วไปใกล้แนวลำธาร
-
มักพบขึ้นตามลำต้นไม้ใหญ่ ตามโขดหิน ในป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบโดยทั่วไปใกล้แนวลำธาร
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ChiangMai,ChiangRai,Lampang,Phrae,Tak,
Phitsanulok,Chaiyaphum,Loei,PrachinBuri,
Kanchanaburi,Chanthaburi,SuratThani,
NakhonSiThammarat,Trang,Phangnga
-
แพร่, เลย, หนองคาย
-
แพร่,น่าน
-
เชียงใหม่
-
เลย
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
ป่าดอยอินทนนท์, น้ำตกแม่ปาน
-
ป่าภูหลวง, โคกนกกระบา
-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เฟิร์นอิงอาศัย
-
เฟิร์นอิงอาศัย