Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Crotalaria shanica
Crotalaria shanica
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Crotalaria shanica
Lace
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Crotalaria shanica var. angusta Craib
ชื่อไทย::
-
รางจืด
ชื่อท้องถิ่น::
-
รางจืด (ลพบุรี)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Crotalaria
วันที่อัพเดท :
1 ก.พ. 2564 09:39 น.
วันที่สร้าง:
1 ก.พ. 2564 09:39 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ล้มลุก
-
เป็นไม้ล้มลุก(herb) ต้นตั้งตรง ลำต้นสีเขียวอมน้ำตาล มีขนปกคลุมปานกลาง การเรียงตัวของใบแบบมี 3 ใบย่อย และมีก้านใบ (pinnately-trifoliate) ใบรูปหอก (lanceolate) ใบสีเขียวเข้ม ผิวใบค่อนข้างหยาบเล็กน้อย หน้าใบไม่มีขน มีขนที่หลังใบปานกลาง ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อยห่าง (serrate) เริ่มออกดอกเดือนมีนาคม-พฤศจิกายน ดอกออกที่ปลายยอด และตาข้าง ดอกรูปดอกถั่วมีขนาดเล็ก สีเหลืองมีลายเส้นสีม่วงตามยาว ฝักสีเขียว รูปทรงกระบอก ส่วนปลายโค้งงอเล็กน้อย ใกล้ส่วนที่โค้งงอด้านในมีติ่งเป็นเส้นค่อนข้างแข็งยาวประมาณ 3 มิลลิเมตรหนึ่งเส้น
การกระจายพันธุ์ :
-
Upper Burma (Shan stage), N Thailand: Chiang Mai (Doi chiangdao, Mae Taeng), Lamphun
-
พบขึ้นทั่วไปในที่ ดินร่วนมีหินปะปนถึงดินเหนียว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Open grass lands, mixed deciduous forest, ca 500 m.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
สูง 79.03-91.45 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 8.64-11.62 มิลลิเมตร ใบบนมีความยาว 3.04-4.0 เซนติเมตร กว้าง 1.22-3.34 เซนติเมตร ใบข้างยาว 2.07-3.13 เซนติเมตร กว้าง 0.75-1.05 เซนติเมตร ช่อดอกแบบช่อกระจะ (raceme) ยาว 17.7-25.5 เซนติเมตร กลุ่มดอก (head) ยาว 8.49-17.65 เซนติเมตร ดอกเดี่ยวมี 23 - 55 ดอกต่อช่อ ก้านใบยาว 2.15-3.63 เซนติเมตร มีขนปกคลุมปานกลาง
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ตำบลเขายายเที่ยง อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยเมล็ด
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 2
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Cayratia novemfolia
Oryza ridleyi
Fimbristylis schoenoides
Trichomanes birmanicum
หวายชมพูนครินทร์
Dendrobium ‘Pink
Solanum spirale
Previous
Next