Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Crotalaria albida
Crotalaria albida
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Crotalaria albida
Heyne ex Roth
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Crotalaria albida B.Heyne
ชื่อไทย::
-
หิ่งหายใบเล็ก
ชื่อท้องถิ่น::
-
หิ่งไห กวางแฉะ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Crotalaria
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูงประมาณ 50 ซม. กิ่งก้านกลม มีขนบางๆ ใบ เดี่ยว เรียงสลับเวียนรอบกิ่ง รูปขอบขนานแคบแกมไข่กลับ กว้าง 0.4-1.5 ซม. ยาว 1-4 ซม. ปลายใบมนมีติ่งสั้น ผิวใบด้านล่างมีขนแน่น ดอก สีเหลือง ออกเป็นช่อ รูปดอกถั่ว ยาว 5-15 ซม. ดอกย่อยขนาดบาน 5-10 มม. กลีบรองดอก 5 กลีบ มีขนแน่น กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนแผ่รูปไข่กลับ ปลายกลีบเว้าเล็กน้อย กลีบข้างรูปขอบขนาน แคบ กลีบล่างรูปท้องเรือ เกสรผู้ 10 อัน รังไข่รูปขอบขนาน ผล เป็นฝัก ที่โคนมีใบประดับติดอยู่ รูปป้อมรี ผิวเกลี้ยง เมื่อแก่แล้วแตก สีน้ำตาลแกมเหลือง เมล็ด สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง
-
ไม้พุ่ม สูงประมาณ 50 ซม. กิ่งก้านกลม มีขนบางๆ ใบ เดี่ยว เรียงสลับเวียนรอบกิ่ง รูปขอบขนานแคบแกมไข่กลับ กว้าง 0.4-1.5 ซม. ยาว 1-4 ซม. ปลายใบมนมีติ่งสั้น ผิวใบด้านล่างมีขนแน่น ดอก สีเหลือง ออกเป็นช่อ รูปดอกถั่ว ยาว 5-15 ซม. ดอกย่อยขนาดบาน 5-10 มม. กลีบรองดอก 5 กลีบ มีขนแน่น กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนแผ่รูปไข่กลับ ปลายกลีบเว้าเล็กน้อย กลีบข้างรูปขอบขนาน แคบ กลีบล่างรูปท้องเรือ เกสรผู้ 10 อัน รังไข่รูปขอบขนาน ผล เป็นฝัก ที่โคนมีใบประดับติดอยู่ รูปป้อมรี ผิวเกลี้ยง เมื่อแก่แล้วแตก สีน้ำตาลแกมเหลือง เมล็ด สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง
-
ไม้พุ่ม สูงประมาณ 50 ซม. กิ่งก้านกลม มีขนบางๆ ใบ เดี่ยว เรียงสลับเวียนรอบกิ่ง รูปขอบขนานแคบแกมไข่กลับ กว้าง 0.4-1.5 ซม. ยาว 1-4 ซม. ปลายใบมนมีติ่งสั้น ผิวใบด้านล่างมีขนแน่น ดอก สีเหลือง ออกเป็นช่อ รูปดอกถั่ว ยาว 5-15 ซม. ดอกย่อยขนาดบาน 5-10 มม. กลีบรองดอก 5 กลีบ มีขนแน่น กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนแผ่รูปไข่กลับ ปลายกลีบเว้าเล็กน้อย กลีบข้างรูปขอบขนาน แคบ กลีบล่างรูปท้องเรือ เกสรผู้ 10 อัน รังไข่รูปขอบขนาน ผล เป็นฝัก ที่โคนมีใบประดับติดอยู่ รูปป้อมรี ผิวเกลี้ยง เมื่อแก่แล้วแตก สีน้ำตาลแกมเหลือง เมล็ด สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง
-
ไม้พุ่ม สูงประมาณ 50 ซม. กิ่งก้านกลม มีขนบางๆ ใบ เดี่ยว เรียงสลับเวียนรอบกิ่ง รูปขอบขนานแคบแกมไข่กลับ กว้าง 0.4-1.5 ซม. ยาว 1-4 ซม. ปลายใบมนมีติ่งสั้น ผิวใบด้านล่างมีขนแน่น ดอก สีเหลือง ออกเป็นช่อ รูปดอกถั่ว ยาว 5-15 ซม. ดอกย่อยขนาดบาน 5-10 มม. กลีบรองดอก 5 กลีบ มีขนแน่น กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนแผ่รูปไข่กลับ ปลายกลีบเว้าเล็กน้อย กลีบข้างรูปขอบขนาน แคบ กลีบล่างรูปท้องเรือ เกสรผู้ 10 อัน รังไข่รูปขอบขนาน ผล เป็นฝัก ที่โคนมีใบประดับติดอยู่ รูปป้อมรี ผิวเกลี้ยง เมื่อแก่แล้วแตก สีน้ำตาลแกมเหลือง เมล็ด สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทุกภาคตามชายป่าเต็งรัง ป่าหินปูน ที่ระดับความสูง 700-1,500 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือน มีนาคม-มิถุนายน
-
อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทุกภาคตามชายป่าเต็งรัง ป่าหินปูน ที่ระดับความสูง 700-1,500 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือน มีนาคม-มิถุนายน
-
อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทุกภาคตามชายป่าเต็งรัง ป่าหินปูน ที่ระดับความสูง 700-1,500 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือน มีนาคม-มิถุนายน
-
อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทุกภาคตามชายป่าเต็งรัง ป่าหินปูน ที่ระดับความสูง 700-1,500 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือน มีนาคม-มิถุนายน
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Elaeodendron viburnifolium
ชุมเห็ดเล
Dodonaea viscosa
ผักกูดช้าง
Thelypteris interrupta
กะดอเย็น
Salacia noronhioides
Walsura pinnata
Dunbaria punctata
Previous
Next