Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Costus speciosus
Costus speciosus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Costus speciosus
(J.Koenig) Sm.
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Costus woodsonii, Red button ginger
ชื่อไทย:
-
เอื้องหมายนา
-
เอื้องหมายนาดอกแดง
ชื่อท้องถิ่น::
-
ซูเลโบ ชู้ไลบ้อง เอื้องช้าง เอื้องต้น เอื้องเพ็ดม้
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Zingiberales
วงศ์::
Costaceae
สกุล:
Hellenia
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ก.ค. 2566
ที่มา :
ฉัตรชัย เงินแสงสวย
ปรับปรุงล่าสุด :
10 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก สูง 1-3 เมตร ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-3 ซม. ที่อยู่ในป่าดงดิบมักอวบและตั้งตรง มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นสีแดง ปลายกิ่งมักโค้งเวียน ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปวงรีแกมขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 5-8 ซม. ยาว 15-40 ซม. ด้านล่างมีขนนุ่มทั่วไป ดอกเป็นช่อออกที่ปลายกิ่งสีขาว กลีบแผ่กว้างหรือเกือบกลม ตรงกลางดอกมีแต้มสีเหลืองหรือสีชมพู ดอกทยอยบานทีละดอก ใบประดับรูปไข่ สีเขียว ออกแดงหรือแสดแดง เกสรผู้ 3 อัน สมบูรณ์ 2 อัน เป็นหมัน 1 อัน ผลแห้งแตกได้ รูปขอบขนานแกมสามเหลี่ยม เมื่อสุกสีแดง เมล็ดสีดำ
-
ไม้ล้มลุก สูง 1-3 เมตร ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-3 ซม. ที่อยู่ในป่าดงดิบมักอวบและตั้งตรง มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นสีแดง ปลายกิ่งมักโค้งเวียน ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปวงรีแกมขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 5-8 ซม. ยาว 15-40 ซม. ด้านล่างมีขนนุ่มทั่วไป ดอกเป็นช่อออกที่ปลายกิ่งสีขาว กลีบแผ่กว้างหรือเกือบกลม ตรงกลางดอกมีแต้มสีเหลืองหรือสีชมพู ดอกทยอยบานทีละดอก ใบประดับรูปไข่ สีเขียว ออกแดงหรือแสดแดง เกสรผู้ 3 อัน สมบูรณ์ 2 อัน เป็นหมัน 1 อัน ผลแห้งแตกได้ รูปขอบขนานแกมสามเหลี่ยม เมื่อสุกสีแดง เมล็ดสีดำ
-
ไม้ล้มลุก สูง 1-3 เมตร ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-3 ซม. ที่อยู่ในป่าดงดิบมักอวบและตั้งตรง มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นสีแดง ปลายกิ่งมักโค้งเวียน ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปวงรีแกมขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 5-8 ซม. ยาว 15-40 ซม. ด้านล่างมีขนนุ่มทั่วไป ดอกเป็นช่อออกที่ปลายกิ่งสีขาว กลีบแผ่กว้างหรือเกือบกลม ตรงกลางดอกมีแต้มสีเหลืองหรือสีชมพู ดอกทยอยบานทีละดอก ใบประดับรูปไข่ สีเขียว ออกแดงหรือแสดแดง เกสรผู้ 3 อัน สมบูรณ์ 2 อัน เป็นหมัน 1 อัน ผลแห้งแตกได้ รูปขอบขนานแกมสามเหลี่ยม เมื่อสุกสีแดง เมล็ดสีดำ
-
ไม้ล้มลุก สูง 1-3 เมตร ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-3 ซม. ที่อยู่ในป่าดงดิบมักอวบและตั้งตรง มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นสีแดง ปลายกิ่งมักโค้งเวียน ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปวงรีแกมขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 5-8 ซม. ยาว 15-40 ซม. ด้านล่างมีขนนุ่มทั่วไป ดอกเป็นช่อออกที่ปลายกิ่งสีขาว กลีบแผ่กว้างหรือเกือบกลม ตรงกลางดอกมีแต้มสีเหลืองหรือสีชมพู ดอกทยอยบานทีละดอก ใบประดับรูปไข่ สีเขียว ออกแดงหรือแสดแดง เกสรผู้ 3 อัน สมบูรณ์ 2 อัน เป็นหมัน 1 อัน ผลแห้งแตกได้ รูปขอบขนานแกมสามเหลี่ยม เมื่อสุกสีแดง เมล็ดสีดำ
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตั้งแต่อินเดียตะวันออก จนถึงคาบสมุทรอินโดจีน พบตามชายน้ำและป่าดิบชื้นทั่วไป ออกดอกระหว่าเงดือนพฤษภาคม-ตุลาคม
-
พบตั้งแต่อินเดียตะวันออก จนถึงคาบสมุทรอินโดจีน พบตามชายน้ำและป่าดิบชื้นทั่วไป ออกดอกระหว่าเงดือนพฤษภาคม-ตุลาคม
-
พบตั้งแต่อินเดียตะวันออก จนถึงคาบสมุทรอินโดจีน พบตามชายน้ำและป่าดิบชื้นทั่วไป ออกดอกระหว่าเงดือนพฤษภาคม-ตุลาคม
-
พบตั้งแต่อินเดียตะวันออก จนถึงคาบสมุทรอินโดจีน พบตามชายน้ำและป่าดิบชื้นทั่วไป ออกดอกระหว่าเงดือนพฤษภาคม-ตุลาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
มุกดาหาร
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ชุมพร
-
ลำปาง
-
สุรินทร์
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ภูผาเทิบ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ล้มลุก
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA888624
888624
2
PRJNA882627
882627
3
PRJNA778333
778333
4
PRJNA659417
659417
5
PRJNA493703
493703
6
PRJNA302314
302314
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ระบบนิเวศ
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ปาหนันหนัง
Goniothalamus tavoyensis
แหนนา
Terminalia glaucifolia
Aloe vera
Dalbergia foliacea
เจียวกู่หลาน
Gynostemma pentaphyllum
Cicerbita putii
Previous
Next