Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Costus lacerus
Costus lacerus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Costus lacerus
Gagnep.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
เอื้องหมายนาใหญ่
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Zingiberales
วงศ์::
Costaceae
สกุล:
Hellenia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 1-3 เมตร ลำต้นเหนือดินเป็นลำ กลมชัดเจนออกสีน้ำตาลแดง มีขน ปลายกิ่งโค้งเวียน ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีถึงรูปไข่กลับ กว้าง 6.5-15 ซม. ยาว 20-46 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบกลมถึงเว้า เป็นรูปหัวใจ ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างมีขน ดอก สีขาว ออกเป็นช่อกระจุกแน่นที่ปลายกิ่ง ยาว 4.5-10 ซม. ใบประดับสีแดงเข้ม รูปไข่ ยาว 2-5.5 ซม. เรียงซ้อน กันแน่น กลีบรองดอกสีแดง ยาว 2-3 ซม. กลีบดอกสีขาว แผ่กลม กว้าง 5-7 ซม. ปลายจักและย่น ตรงกลางกลีบมีแต้ม สีเหลืองอ่อน เกสรผู้สีขาว รูปแคบรี ยาว 3-3.5 ซม. รังไข่มีขนแน่น ผล รูปรีป้อม กว้าง 1-1.6 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. ผลแก่แตกตามยาว เมล็ดสีดำ
-
ไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 1-3 เมตร ลำต้นเหนือดินเป็นลำ กลมชัดเจนออกสีน้ำตาลแดง มีขน ปลายกิ่งโค้งเวียน ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีถึงรูปไข่กลับ กว้าง 6.5-15 ซม. ยาว 20-46 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบกลมถึงเว้า เป็นรูปหัวใจ ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างมีขน ดอก สีขาว ออกเป็นช่อกระจุกแน่นที่ปลายกิ่ง ยาว 4.5-10 ซม. ใบประดับสีแดงเข้ม รูปไข่ ยาว 2-5.5 ซม. เรียงซ้อน กันแน่น กลีบรองดอกสีแดง ยาว 2-3 ซม. กลีบดอกสีขาว แผ่กลม กว้าง 5-7 ซม. ปลายจักและย่น ตรงกลางกลีบมีแต้ม สีเหลืองอ่อน เกสรผู้สีขาว รูปแคบรี ยาว 3-3.5 ซม. รังไข่มีขนแน่น ผล รูปรีป้อม กว้าง 1-1.6 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. ผลแก่แตกตามยาว เมล็ดสีดำ
-
ไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 1-3 เมตร ลำต้นเหนือดินเป็นลำ กลมชัดเจนออกสีน้ำตาลแดง มีขน ปลายกิ่งโค้งเวียน ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีถึงรูปไข่กลับ กว้าง 6.5-15 ซม. ยาว 20-46 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบกลมถึงเว้า เป็นรูปหัวใจ ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างมีขน ดอก สีขาว ออกเป็นช่อกระจุกแน่นที่ปลายกิ่ง ยาว 4.5-10 ซม. ใบประดับสีแดงเข้ม รูปไข่ ยาว 2-5.5 ซม. เรียงซ้อน กันแน่น กลีบรองดอกสีแดง ยาว 2-3 ซม. กลีบดอกสีขาว แผ่กลม กว้าง 5-7 ซม. ปลายจักและย่น ตรงกลางกลีบมีแต้ม สีเหลืองอ่อน เกสรผู้สีขาว รูปแคบรี ยาว 3-3.5 ซม. รังไข่มีขนแน่น ผล รูปรีป้อม กว้าง 1-1.6 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. ผลแก่แตกตามยาว เมล็ดสีดำ
-
ไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 1-3 เมตร ลำต้นเหนือดินเป็นลำ กลมชัดเจนออกสีน้ำตาลแดง มีขน ปลายกิ่งโค้งเวียน ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีถึงรูปไข่กลับ กว้าง 6.5-15 ซม. ยาว 20-46 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบกลมถึงเว้า เป็นรูปหัวใจ ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างมีขน ดอก สีขาว ออกเป็นช่อกระจุกแน่นที่ปลายกิ่ง ยาว 4.5-10 ซม. ใบประดับสีแดงเข้ม รูปไข่ ยาว 2-5.5 ซม. เรียงซ้อน กันแน่น กลีบรองดอกสีแดง ยาว 2-3 ซม. กลีบดอกสีขาว แผ่กลม กว้าง 5-7 ซม. ปลายจักและย่น ตรงกลางกลีบมีแต้ม สีเหลืองอ่อน เกสรผู้สีขาว รูปแคบรี ยาว 3-3.5 ซม. รังไข่มีขนแน่น ผล รูปรีป้อม กว้าง 1-1.6 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. ผลแก่แตกตามยาว เมล็ดสีดำ
การกระจายพันธุ์ :
-
พบกระจายในฑิเบต อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบบริเวณพื้นที่ชุ่มชื้น เปิดโล่ง ในป่าดงดิบหรือป่าสน ที่ระดับความสูง 800-1,700 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายน
-
Bhutan, N India, S China, Laos, Vietnam, N & NE Thailand: Chiang Mai (Doi Suthep, Doi Intanond, Doi Chiang Dao), Mae Hong Son, Loei (Na Haeo).
-
พบกระจายในฑิเบต อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบบริเวณพื้นที่ชุ่มชื้น เปิดโล่ง ในป่าดงดิบหรือป่าสน ที่ระดับความสูง 800-1,700 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายน
-
พบกระจายในฑิเบต อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบบริเวณพื้นที่ชุ่มชื้น เปิดโล่ง ในป่าดงดิบหรือป่าสน ที่ระดับความสูง 800-1,700 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายน
-
พบกระจายในฑิเบต อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบบริเวณพื้นที่ชุ่มชื้น เปิดโล่ง ในป่าดงดิบหรือป่าสน ที่ระดับความสูง 800-1,700 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ล้มลุก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Open grassland in deciduous forest, and along roadsides, often in moist places, 500-1500 m (in Yunnan up to 2.200 m).
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Zygostelma benthamii
Gracilaria percurrens
Piper smitinandianum
Viola yunnanensis
Nervilia crociformis
Catenella repens
Previous
Next