Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Combretum punctatum
Combretum punctatum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Combretum punctatum
Blume
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
สะแกวัลย์
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Myrtales
วงศ์::
Combretaceae
สกุล:
Combretum
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:40 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:40 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
พืชรอเลี้อย หรือไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ กิ่งสีน้ำตาล มีเกล็ดสีน้ำตาลหนาแน่น ใบค่อนข้างหนา รูปไข่ ยาว 7-10 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ช่อดอกเกิดที่ยอดและซอกใบ เป็นกระจุก มีก้านช่อยาว ใบประดับคล้ายใบ 1 คู่ กลีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นทรงกรวย กลีบดอกสีขาว รูปไข่กลับ ยาว 1.5-2 มม. ผลแห้งทรงรีหรือเกือบกลม มี 4 ปีก กว้างกว่าขนาดผล ออกดอกเดือนมกราคม
-
พืชรอเลี้อย หรือไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ กิ่งสีน้ำตาล มีเกล็ดสีน้ำตาลหนาแน่น ใบค่อนข้างหนา รูปไข่ ยาว 7-10 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ช่อดอกเกิดที่ยอดและซอกใบ เป็นกระจุก มีก้านช่อยาว ใบประดับคล้ายใบ 1 คู่ กลีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นทรงกรวย กลีบดอกสีขาว รูปไข่กลับ ยาว 1.5-2 มม. ผลแห้งทรงรีหรือเกือบกลม มี 4 ปีก กว้างกว่าขนาดผล ออกดอกเดือนมกราคม
-
พืชรอเลี้อย หรือไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ กิ่งสีน้ำตาล มีเกล็ดสีน้ำตาลหนาแน่น ใบค่อนข้างหนา รูปไข่ ยาว 7-10 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ช่อดอกเกิดที่ยอดและซอกใบ เป็นกระจุก มีก้านช่อยาว ใบประดับคล้ายใบ 1 คู่ กลีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นทรงกรวย กลีบดอกสีขาว รูปไข่กลับ ยาว 1.5-2 มม. ผลแห้งทรงรีหรือเกือบกลม มี 4 ปีก กว้างกว่าขนาดผล ออกดอกเดือนมกราคม
-
พืชรอเลี้อย หรือไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ กิ่งสีน้ำตาล มีเกล็ดสีน้ำตาลหนาแน่น ใบค่อนข้างหนา รูปไข่ ยาว 7-10 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ช่อดอกเกิดที่ยอดและซอกใบ เป็นกระจุก มีก้านช่อยาว ใบประดับคล้ายใบ 1 คู่ กลีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นทรงกรวย กลีบดอกสีขาว รูปไข่กลับ ยาว 1.5-2 มม. ผลแห้งทรงรีหรือเกือบกลม มี 4 ปีก กว้างกว่าขนาดผล ออกดอกเดือนมกราคม
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามที่โล่ง ชายป่าดิบแล้ง
-
พบตามที่โล่ง ชายป่าดิบแล้ง
-
พบตามที่โล่ง ชายป่าดิบแล้ง
-
พบตามที่โล่ง ชายป่าดิบแล้ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ราชบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Meteoriopsis squarrosa
กอมก้อห้วย
Anisomeles indica
Belamcanda chinensis
Millettia pachycarpa
เนียมนกเขา
Salomonia cantoniensis
Eulalia bicornuta
Previous
Next