Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Columba livia
Columba livia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Columba livia
Gmelin, 1789
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Columba livia feral J.F.Gmelin, 1789
ชื่อสามัญ::
-
Rock Pigeon
-
Common Pigeon
-
Rock Pigeon (Feral Pigeon)
ชื่อไทย::
-
นกพิราบ
-
นกพิราบป่า
ชื่อท้องถิ่น::
-
นกพิราบป่า
-
ปาตี
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Columbiformes
วงศ์::
Columbidae
สกุล:
Columba
ที่มา :
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ธ.ค. 2567
ที่มา :
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ธ.ค. 2567
ที่มา :
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ธ.ค. 2567
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
3 ก.ค. 2566
ที่มา :
ปรับปรุงล่าสุด :
10 ส.ค. 2563
วันที่อัพเดท :
25 มิ.ย. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
25 มิ.ย. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
-
นกขนาดเล็กถึงกลาง ( 33 ซม.) ลำตัว ป้อมหัวเล็ก คอ หางและขาสั้น ขนคลุมลำตัว
หลากสีแต่ที่พบมากที่สุดมีสีเหาเข้มและมีแถบใหญ่สีดำพาดที่ปีก 2 เส้น ปลายหาง
ดำ ขนปีกด้านล่างสีขาว คอมีแถบสีเขียวเหลือบ ปากดำและขาแดง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
โดยทั่วไปหัวสีเทาเข้ม หลังและอกสีเข้มกว่า ปีกเทาอ่อน แถบปีกดำ ปลายหางดำ ตัวผู้ : ใหญ่กว่าตัวเมีย คอเหลือบเขียวมากกว่า นกต่างถิ่นปรับตัวในธรรมชาตินานแล้ว มีการผสมพันธุ์จนมีสีขนและขนาดที่หลากหลาย
ระบบนิเวศ :
-
พื้นที่เกษตรกรรม, บ้านเรือนและแหล่งชุมชน หน้าผาหิน
-
นกพิราบป่าเป็นต้นตระกูลของนกพิราบที่เลี้ยงกันอยู่ในปัจจุบัน ในที่นี้เรียก "นกพิราบ" แทนที่จะเรียก "นกพิราบป่า" เนื่องจากส่วนใหญ่ที่พบเป็นนกพิราบเลี้ยง และปล่อยให้อยู่ตามธรรมชาติ หากินตามพื้นดินเป็นฝูงใหญ่ อาหารได้แก่ เมล็ดพืชต่างๆ
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกาะ
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
สวนยาง ชายป่า ป่ายางแดง นาข้าว
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
เชียงใหม่,ตาก,กำแพงเพชร
-
สุราษฏร์ธานี
-
เชียงใหม่
-
พะเยา
-
น่าน
-
น่าน
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
ยะลา,ปัตตานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
การขยายพันธุ์ :
-
การผสมพันธุ์ นกพิราบผสมพันธุ์ทั้งปี ทำรังด้วยกิ่งไม้เรียงซ้อนกันอย่างหยาบๆ ตามสิ่งก่อสร้างและซอกหิน ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่ 2 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 16 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่งัด แม่น้ำแม่แตง แม่น้ำแม่ริม แม่น้ำแม่แจ่ม แม่น้ำปิง คลองแม่ระกา คลองสวนหมาก คลองสวนหมาก แม่น้ำปิงตอนล่าง
-
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
-
พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
พรุลานควาย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การกระจายพันธุ์ :
-
นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1122952
1122952
2
PRJNA1114431
1114431
3
PRJNA1112620
1112620
4
PRJNA1106885
1106885
5
PRJNA1103993
1103993
6
PRJNA1087072
1087072
7
PRJNA1063711
1063711
8
PRJEB61000
1059472
9
PRJNA1054132
1054132
10
PRJNA1054131
1054131
11
PRJDB17017
1051849
12
PRJNA1051182
1051182
13
PRJEB61445
1028244
14
PRJNA1019937
1019937
15
PRJNA1018817
1018817
16
PRJNA1016408
1016408
17
PRJNA1005959
1005959
18
PRJNA1003477
1003477
19
PRJNA987322
987322
20
PRJNA986561
986561
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
นกกระติ๊ดเขียว นกไผ่
Erythrura prasina
Acytolepis cossaea
Avitta discipuncta
Physochistura chulabhornae
ด้วงหนวดยาว
Neoplocaederus ruficornis
Filimanus heptadactyla
Previous
Next