Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Colocasia gigantea
Colocasia gigantea
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Colocasia gigantea
(Blume) Hook.f.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
ตูน
-
คูน
-
บอน
ชื่อท้องถิ่น::
-
คูน
-
คูน บอน กาดขาว กระเอาะขาว
-
กระดาดขาว (กาญจนบุรี) กะเอาะขาว (ชุมพร) คูน (ภาคกลาง) บอน (ประจวบคีรีขันธ์) โหรา (นครศรีธรรมราช) ออกดิบ (ภาคใต้)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Alismatales
วงศ์::
Araceae
สกุล:
Leucocasia
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 02:52 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 02:52 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Herb.
-
พืชล้มลุกขนาดใหญ่ อายุหลายปี ส่วนเหนือดินสูงถึง ๒.๕ ม. ใบเดี่ยว ขนาดใหญ่ รูปหัวใจ มีนวลขาวปกคลุม ดอกออกเป็นช่อจาก เหง้าใต้ดิน มีดอกย่อยสีขาวครีมจำนวนมาก ผลสด ฉํ่านํ้า รูปขอบขนาน ออกดอกชว่ งเดือนเมษายน – มิถุนายน ขยายพันธุโ์ ดยการแบง่ เหงา้ ใตดิ้น
-
บรรยายลักษณะต้น:ไม้ล้มลุกอายุหลายปี ขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 3.5 เมตร มีน้ำยางสีขาว ลำต้นตั้งตรง หรือทอดนอนชูยอดตั้งขึ้นใบ:ใบเดี่ยว รูปไข่ถึงรูปหัวใจ หรือรูปก้นปิด กว้าง 17-120 เซนติเมตร ยาว 25-160 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนรูปหัวใจ ขอบเรียบ แผ่นใบด้านบนสีเขียว ด้านล่างสีเทา ก้านใบยาวได้ถึง 150 เซนติเมตรดอก:ดอกออกเป็นช่อเชิงลดมีกาบ ก้านช่อดอก ยาว 30-80 เซนติเมตร กาบหุ้มช่อดอก ด้านบนเป็นรูปกาบเรือ ตั้งขึ้น สีขาว ยาว 8-19 เซนติเมตร ด้านล่างเป็นรูปรี ยาว 3-6 เซนติเมตร สีเขียว ช่อดอกรูปทรงกระบอกสีขาว ผล:ผลสดรูปรี ขนาดประมาณ 3 มิลลิเมตร ผลสุกสีเหลือง มีกลิ่นเปลือก:อื่นๆ:
ไม้ล้มลุกอายุหลายปี ขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 3.5 เมตร มีน้ำยางสีขาว ลำต้นตั้งตรง หรือทอดนอนชูยอดตั้งขึ้น
ใบเดี่ยว รูปไข่ถึงรูปหัวใจ หรือรูปก้นปิด กว้าง 17-120 เซนติเมตร ยาว 25-160 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนรูปหัวใจ ขอบเรียบ แผ่นใบด้านบนสีเขียว ด้านล่างสีเทา ก้านใบยาวได้ถึง 150 เซนติเมตร
ดอกออกเป็นช่อเชิงลดมีกาบ ก้านช่อดอก ยาว 30-80 เซนติเมตร กาบหุ้มช่อดอก ด้านบนเป็นรูปกาบเรือ ตั้งขึ้น สีขาว ยาว 8-19 เซนติเมตร ด้านล่างเป็นรูปรี ยาว 3-6 เซนติเมตร สีเขียว ช่อดอกรูปทรงกระบอกสีขาว
ผลสดรูปรี ขนาดประมาณ 3 มิลลิเมตร ผลสุกสีเหลือง มีกลิ่น
-
พืชล้มลุกขนาดใหญ่ อายุหลายปี ส่วนเหนือดินสูงถึง ๒.๕ ม. ใบเดี่ยว ขนาดใหญ่ รูปหัวใจ มีนวลขาวปกคลุม ดอกออกเป็นช่อจาก เหง้าใต้ดิน มีดอกย่อยสีขาวครีมจำนวนมาก ผลสด ฉํ่านํ้า รูปขอบขนาน ออกดอกชว่ งเดือนเมษายน – มิถุนายน ขยายพันธุโ์ ดยการแบง่ เหงา้ ใตดิ้น
-
พืชล้มลุกขนาดใหญ่ อายุหลายปี ส่วนเหนือดินสูงถึง ๒.๕ ม. ใบเดี่ยว ขนาดใหญ่ รูปหัวใจ มีนวลขาวปกคลุม ดอกออกเป็นช่อจาก เหง้าใต้ดิน มีดอกย่อยสีขาวครีมจำนวนมาก ผลสด ฉํ่านํ้า รูปขอบขนาน ออกดอกชว่ งเดือนเมษายน – มิถุนายน ขยายพันธุโ์ ดยการแบง่ เหงา้ ใตดิ้น
-
พืชล้มลุกขนาดใหญ่ อายุหลายปี ส่วนเหนือดินสูงถึง ๒.๕ ม. ใบเดี่ยว ขนาดใหญ่ รูปหัวใจ มีนวลขาวปกคลุม ดอกออกเป็นช่อจาก เหง้าใต้ดิน มีดอกย่อยสีขาวครีมจำนวนมาก ผลสด ฉํ่านํ้า รูปขอบขนาน ออกดอกชว่ งเดือนเมษายน – มิถุนายน ขยายพันธุโ์ ดยการแบง่ เหงา้ ใตดิ้น
ระบบนิเวศ :
-
vDeciduous and evergreen forests, limestone, to 600
m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Myanmar, S China, Indochina, Peninsular Malaysia, Sumatra, Java, Bali.
-
ขึ้นตามชายป่า เชิงเขา ในป่าดิบ และป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูง 0-600 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Alloverthecountry
-
เชียงใหม่
-
ราชบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่-ป่าเขาไฟไหม้) ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
พื้นที่เกษตรกรรมดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA805804
805804
2
PRJEB49297
787879
3
PRJNA414351
414351
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Duhaldea paiensis
Carex meeboldiana
Mezzettia parviflora
Spigelia anthelmia
Limnophila villifera
ขางน้ำข้าว
Kibatalia macrophylla
Previous
Next