Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Agapetes megacarpa
Agapetes megacarpa
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Agapetes megacarpa
W.W.Sm.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Agapetes burmanica W.E.Evans
ชื่อไทย:
-
ประทัดอ่างขาง
-
ประทัดดอย
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Ericales
วงศ์::
Ericaceae
สกุล:
Agapetes
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:27 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:27 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มอิงอาศัย สูง 1-1.5 ม. รากสะสมอาหารอวบบวม ใบ เดี่ยว เรียงเวียนรอบกิ่ง รูปขอบขนานแกมรีหรือแกมรูปหอกกลับ กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 9.5-14 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือหยัก เป็นคลื่นห่างๆ มีต่อมเล็กๆ ตามขอบใบ ดอก สีชมพูหรือชมพูอมแดง ออกเป็นช่อห้อยลง กลีบรองดอก 5 กลีบ เป็นถ้วย ยาว 0.9-1.4 ซม. ส่วนปลายเป็นกลีบเรียวแหลม กลีบดอกเป็นหลอดป่อง ยาว 4.3-6 ซม. มีสันตามยาว มีลายสีแดงพาดตามยาวทั่วไป ขนาด ผ่านศูนย์กลาง 1.2-1.9 ซม. ปลายแยกเป็น 5 แฉก แหลมโค้งกลับ ผล สด รูปทรงกลม ขนาด 6-9 มม. มีกลีบรองดอกติดอยู่ที่ปลาย
-
ไม้พุ่มอิงอาศัย สูง 1-1.5 ม. รากสะสมอาหารอวบบวม ใบ เดี่ยว เรียงเวียนรอบกิ่ง รูปขอบขนานแกมรีหรือแกมรูปหอกกลับ กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 9.5-14 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือหยัก เป็นคลื่นห่างๆ มีต่อมเล็กๆ ตามขอบใบ ดอก สีชมพูหรือชมพูอมแดง ออกเป็นช่อห้อยลง กลีบรองดอก 5 กลีบ เป็นถ้วย ยาว 0.9-1.4 ซม. ส่วนปลายเป็นกลีบเรียวแหลม กลีบดอกเป็นหลอดป่อง ยาว 4.3-6 ซม. มีสันตามยาว มีลายสีแดงพาดตามยาวทั่วไป ขนาด ผ่านศูนย์กลาง 1.2-1.9 ซม. ปลายแยกเป็น 5 แฉก แหลมโค้งกลับ ผล สด รูปทรงกลม ขนาด 6-9 มม. มีกลีบรองดอกติดอยู่ที่ปลาย
-
ไม้พุ่มอิงอาศัย สูง 1-1.5 ม. รากสะสมอาหารอวบบวม ใบ เดี่ยว เรียงเวียนรอบกิ่ง รูปขอบขนานแกมรีหรือแกมรูปหอกกลับ กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 9.5-14 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือหยัก เป็นคลื่นห่างๆ มีต่อมเล็กๆ ตามขอบใบ ดอก สีชมพูหรือชมพูอมแดง ออกเป็นช่อห้อยลง กลีบรองดอก 5 กลีบ เป็นถ้วย ยาว 0.9-1.4 ซม. ส่วนปลายเป็นกลีบเรียวแหลม กลีบดอกเป็นหลอดป่อง ยาว 4.3-6 ซม. มีสันตามยาว มีลายสีแดงพาดตามยาวทั่วไป ขนาด ผ่านศูนย์กลาง 1.2-1.9 ซม. ปลายแยกเป็น 5 แฉก แหลมโค้งกลับ ผล สด รูปทรงกลม ขนาด 6-9 มม. มีกลีบรองดอกติดอยู่ที่ปลาย
-
ไม้พุ่มอิงอาศัย สูง 1-1.5 ม. รากสะสมอาหารอวบบวม ใบ เดี่ยว เรียงเวียนรอบกิ่ง รูปขอบขนานแกมรีหรือแกมรูปหอกกลับ กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 9.5-14 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือหยัก เป็นคลื่นห่างๆ มีต่อมเล็กๆ ตามขอบใบ ดอก สีชมพูหรือชมพูอมแดง ออกเป็นช่อห้อยลง กลีบรองดอก 5 กลีบ เป็นถ้วย ยาว 0.9-1.4 ซม. ส่วนปลายเป็นกลีบเรียวแหลม กลีบดอกเป็นหลอดป่อง ยาว 4.3-6 ซม. มีสันตามยาว มีลายสีแดงพาดตามยาวทั่วไป ขนาด ผ่านศูนย์กลาง 1.2-1.9 ซม. ปลายแยกเป็น 5 แฉก แหลมโค้งกลับ ผล สด รูปทรงกลม ขนาด 6-9 มม. มีกลีบรองดอกติดอยู่ที่ปลาย
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบเฉพาะในภาคเหนือ เป็นพืชอิงอาศัย เกาะตามต้นไม้ใหญ่ หรือตามหน้าผา หินปูนในป่าดิบเขา ที่ระดับ ความสูง 1,000-1,600 เมตร ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-มีนาคม
-
S China, N & NE Thailand: Chiang Mai, Chiang Rai, Nan
-
อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบเฉพาะในภาคเหนือ เป็นพืชอิงอาศัย เกาะตามต้นไม้ใหญ่ หรือตามหน้าผา หินปูนในป่าดิบเขา ที่ระดับ ความสูง 1,000-1,600 เมตร ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-มีนาคม
-
อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบเฉพาะในภาคเหนือ เป็นพืชอิงอาศัย เกาะตามต้นไม้ใหญ่ หรือตามหน้าผา หินปูนในป่าดิบเขา ที่ระดับ ความสูง 1,000-1,600 เมตร ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-มีนาคม
-
อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบเฉพาะในภาคเหนือ เป็นพืชอิงอาศัย เกาะตามต้นไม้ใหญ่ หรือตามหน้าผา หินปูนในป่าดิบเขา ที่ระดับ ความสูง 1,000-1,600 เมตร ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-มีนาคม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มอิงอาศัย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Lower montane forest, limestone, 1000 − 1400 m.
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
กาญจนบุรี, ตาก
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dichanthium mucronulatum
Aganosma wallichii
Lithocarpus mekongensis
Trapa bispinosa
Curcuma longa
Acampe ochracea
Previous
Next