Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Agapetes macrostemon
Agapetes macrostemon
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Agapetes macrostemon
C.B.Clarke
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Vaccinium macrostemon Kurz
ชื่อไทย::
-
ประทัดกะเหรี่ยง
-
ประทัดกระเหรี่ยง
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Ericales
วงศ์::
Ericaceae
สกุล:
Agapetes
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:27 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:27 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มอิงอาศัย สูงถึง 1 เมตร โคนต้นอวบบวม ใบ เดี่ยว เรียงเวียนรอบกิ่ง รูปใบหอก กว้าง 1.7-4.5 ซม. ยาว 6.5-11.5 ซม. ปลายใบเรียวเเหลม ผิวใบเกลี้ยง ดอก สีแดง หรือแดงส้ม ออกเป็นช่อตามกิ่งใกล้ปลายยอด มี 5-10 ดอกย่อย กลีบรองดอก รูปหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉกตื้น กลีบดอก รูปหลอดป่องโค้ง ยาว 1.8-2.5 ซม. ผิวเกลี้ยง เป็นสัน 5 สัน ปลายกลีบ แยกเป็น 5 แฉก รูปแถบปลายแหลมม้วนกลับทางด้านหลัง ผล รูปรีหรือรูปไข่ ขนาดผ่านศูนย์กลาง 7-10 มม. ปลายผลมีกลีบรองดอก ติดทน เมล็ด ขนาดเล็กจำนวนมาก
-
ไม้พุ่มอิงอาศัย สูงถึง 1 เมตร โคนต้นอวบบวม ใบ เดี่ยว เรียงเวียนรอบกิ่ง รูปใบหอก กว้าง 1.7-4.5 ซม. ยาว 6.5-11.5 ซม. ปลายใบเรียวเเหลม ผิวใบเกลี้ยง ดอก สีแดง หรือแดงส้ม ออกเป็นช่อตามกิ่งใกล้ปลายยอด มี 5-10 ดอกย่อย กลีบรองดอก รูปหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉกตื้น กลีบดอก รูปหลอดป่องโค้ง ยาว 1.8-2.5 ซม. ผิวเกลี้ยง เป็นสัน 5 สัน ปลายกลีบ แยกเป็น 5 แฉก รูปแถบปลายแหลมม้วนกลับทางด้านหลัง ผล รูปรีหรือรูปไข่ ขนาดผ่านศูนย์กลาง 7-10 มม. ปลายผลมีกลีบรองดอก ติดทน เมล็ด ขนาดเล็กจำนวนมาก
-
ไม้พุ่มอิงอาศัย สูงถึง 1 เมตร โคนต้นอวบบวม ใบ เดี่ยว เรียงเวียนรอบกิ่ง รูปใบหอก กว้าง 1.7-4.5 ซม. ยาว 6.5-11.5 ซม. ปลายใบเรียวเเหลม ผิวใบเกลี้ยง ดอก สีแดง หรือแดงส้ม ออกเป็นช่อตามกิ่งใกล้ปลายยอด มี 5-10 ดอกย่อย กลีบรองดอก รูปหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉกตื้น กลีบดอก รูปหลอดป่องโค้ง ยาว 1.8-2.5 ซม. ผิวเกลี้ยง เป็นสัน 5 สัน ปลายกลีบ แยกเป็น 5 แฉก รูปแถบปลายแหลมม้วนกลับทางด้านหลัง ผล รูปรีหรือรูปไข่ ขนาดผ่านศูนย์กลาง 7-10 มม. ปลายผลมีกลีบรองดอก ติดทน เมล็ด ขนาดเล็กจำนวนมาก
-
ไม้พุ่มอิงอาศัย สูงถึง 1 เมตร โคนต้นอวบบวม ใบ เดี่ยว เรียงเวียนรอบกิ่ง รูปใบหอก กว้าง 1.7-4.5 ซม. ยาว 6.5-11.5 ซม. ปลายใบเรียวเเหลม ผิวใบเกลี้ยง ดอก สีแดง หรือแดงส้ม ออกเป็นช่อตามกิ่งใกล้ปลายยอด มี 5-10 ดอกย่อย กลีบรองดอก รูปหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉกตื้น กลีบดอก รูปหลอดป่องโค้ง ยาว 1.8-2.5 ซม. ผิวเกลี้ยง เป็นสัน 5 สัน ปลายกลีบ แยกเป็น 5 แฉก รูปแถบปลายแหลมม้วนกลับทางด้านหลัง ผล รูปรีหรือรูปไข่ ขนาดผ่านศูนย์กลาง 7-10 มม. ปลายผลมีกลีบรองดอก ติดทน เมล็ด ขนาดเล็กจำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบเกาะอาศัยตามต้นไม้ใหญ่ ในป่าดิบเขา ที่ความสูง 1,400-1,650 เมตร ทางภาคเหนือที่จังหวัดเชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ติดผลเดือน มิถุนายน
-
Burma, N Thailand: Chiang Mai, Mae Hong Son
-
อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบเกาะอาศัยตามต้นไม้ใหญ่ ในป่าดิบเขา ที่ความสูง 1,400-1,650 เมตร ทางภาคเหนือที่จังหวัดเชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ติดผลเดือน มิถุนายน
-
อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบเกาะอาศัยตามต้นไม้ใหญ่ ในป่าดิบเขา ที่ความสูง 1,400-1,650 เมตร ทางภาคเหนือที่จังหวัดเชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ติดผลเดือน มิถุนายน
-
อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบเกาะอาศัยตามต้นไม้ใหญ่ ในป่าดิบเขา ที่ความสูง 1,400-1,650 เมตร ทางภาคเหนือที่จังหวัดเชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ติดผลเดือน มิถุนายน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มอิงอาศัย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Lower montane forest, 1500 − 1800 m.
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Vanda garayi
Cosmos sulphureus
โกฐน้ำเต้า
Rheum tanguticum
ส้มผด
Rhus javanica
Knoxia sumatrensis
Trigonostemon pachyphyllus
Previous
Next