ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครศรีธรรมราช
-
บางนรา, นราธิวาส, เกาะสีชัง, ชลบุรี, จันทบุรี, สงขลา, เกาะเสม็ด, เกาะกุฎี, ระยอง
-
ตรัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เกาะกระ
-
พื้นที่บริเวณวางปะการังเทียม ท้องที่ หมู่ที่ 3 บ้านมดตะนอย ตำบลเกาะลิบง อำเภอกันตัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นปลาขนาดปานกลางที่มีลำตัวยาวและแบนข้าง ปากเล็กยืดหดได้ มีตำแหน่งเปิดค่อนลงมาทางด้านล่างของหัว ใต้คางมีหนวดยาว 2 เส้น ทำหน้าที่คุ้ยหาเหยื่อที่ฝังตัวอยู่ใกล้พื้นท้องน้ำ มีฟันขนาดเล็กคล้ายแปรง บนขากรรไกรมีเกล็ดขนาดใหญ่ ครีบหลังสองตอนแยกห่างออกจากกัน ครีบหลังตอนแรกมีก้านครีบแข็ง 6-8 ก้าน ครีบหลังตอนที่สองมีก้านครีบอ่อนที่แตกแขนง 9 ก้าน โดยก้านครีบอ่อนก้านแรกเป็นก้านครีบอ่อนที่ไม่แตกแขนง ในขณะที่ก้านอื่นๆ จะแตกแขนง ครีบหางเว้าเป็นรูปส้อม ลำตัวมีสีสัน
การกระจายพันธุ์ :
-
บริเวณอ่าวไทยตอนใน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 4 Checklist of FISHES IN THAILAND, 2540
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
ข้อมูลสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ โครงการการศึกษาสังคมปลาบริเวณบ้านปลา พื้นที่คลองลัดเจ้าไหม บ้านมดตะนอย จังหวัดตรัง โดยสถานวิจัยความเป็นเลิศความหลากหลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย, บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) 2593
-
ชนิดปลาบริเวณอ่าวไทยตอนในจากเรือสำรวจประมง 2, กรมประมง, 2563
-
IUCN Red List
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง