ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
พะยูนมีลำตัวรูปกระสวยคล้ายโลมา สีเทาอมชมพูหรือสีน้ำตาลเทา สีของส่วนท้องอ่อนกว่าวัยอ่อนมีลำตัวสีเทาอมชมพูและส่วนท้องสีชมพู ส่วนหัวยาวประกอบด้วยปาก รูจมูกและมีลักษณะคล้ายริมฝีปากที่หนาและใหญ่ เรียกรวมกันว่า Muzzle มีขนสั้นๆประปรายตลอดลำตัวและขนเส้นใหญ่อยู่อย่างหนาแน่นบริเวณปากตาและหูขนาดเล็ก
-
Head-tail 1-4 m; weight 230-900 kg.
An aquatic non-ruminant herbivore of the coastal shallows. Body dull brownish grey with short sensory bristles at the intervals of 2-3 cm. Front limbs modified into paddle-like flippers. Head large with a pair of valued nostrils on the top of the head; below equipped with numerous long whiskers. Tail flattened, fluke-like with a concave trailing edge. This animal is evolutionarily related to elephants and ungulates.
An aquatic non-ruminant herbivore of the coastal shallows. Body dull brownish grey with short sensory bristles at the intervals of 2-3 cm. Front limbs modified into paddle-like flippers. Head large with a pair of valued nostrils on the top of the head; below equipped with numerous long whiskers. Tail flattened, fluke-like with a concave trailing edge. This animal is evolutionarily related to elephants and ungulates.
ระบบนิเวศ :
-
พะยูนเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อาศัยอยู่ในทะเล กินพืชเป็นอาหารหลัก มีระบบย่อยเซลลูโลส ของพืชได้ พะยูนใช้ชีวิตส่วนใหญ่ในการกินอาหารและอาศัยบริเวณที่มีหญ้าทะเลอุดมสมบูรณ์
พะยูนใช้การดมกลิ่นอาหารและใช้หนวดการสัมผัสสิ่งรอบๆตัว พะยูนเป็นสัตว์ตื่นตกใจง่ายและตายได้ง่ายมาก
พะยูนใช้การดมกลิ่นอาหารและใช้หนวดการสัมผัสสิ่งรอบๆตัว พะยูนเป็นสัตว์ตื่นตกใจง่ายและตายได้ง่ายมาก
-
Along shores of both the Gulf and Andaman Sea.
การกระจายพันธุ์ :
-
ในประเทศไทย แพร่กระจายทางฝั่งทะเลอันดามัน จังหวัดระนอง จังหวัดสตูล
พบมากที่สุด เกาะลิบง-เกาะมุกต์ จังหวัดตรัง
ฝั่งอ่าวไทย พบในจังหวัดตราด ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และปัตตานี
พบมากที่สุด เกาะลิบง-เกาะมุกต์ จังหวัดตรัง
ฝั่งอ่าวไทย พบในจังหวัดตราด ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และปัตตานี
-
ทะเลอ่าวไทยและอันดามัน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
จันทบุรี,ชุมพร,ตรัง,ตราด,นครศรีธรรมราช,ปัตตานี,ระนอง,ระยอง,สตูล,สุราษฎร์ธานี
-
ตรัง,ระยอง,ตราด,ภูเก็ต,สุราษฎร์ธานี,ชลบุรี,กระบี่,พังงา,จันทบุรี
-
ทะเลอ่าวไทยและอันดามัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Trang (Hat Chao Mai, Koh Libong-1991); Rayong (Khlung-2003); Trat
(Ban Mai Rut-Ban Saphan Hin-2003); Phuket (2004); Surat Thani (2004);
Chon Buri (Sattahip-2005); Krabi (Koh Sriboya, Koh Pu, Koh Chom-
2005); Phangnga (2005); Seagrass beds of Chanthaburi-Trat (2005).
(Ban Mai Rut-Ban Saphan Hin-2003); Phuket (2004); Surat Thani (2004);
Chon Buri (Sattahip-2005); Krabi (Koh Sriboya, Koh Pu, Koh Chom-
2005); Phangnga (2005); Seagrass beds of Chanthaburi-Trat (2005).
-
พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม-เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหมู่เกาะลิบง–ปากน้ำตรัง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2015)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2019)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2019)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2019)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
ฐานข้อมูลสัตว์ป่าเมืองไทย กลุ่มงานวิจัยสัตว์ป่า สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 6 Wild mammals in Thailand, 2543
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
Checklist of CITES Species
-
IUCN Red List
-
IUCN Red List
-
IUCN Red List
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ข้อมูลสภานภาพ CITES
CITES โลก
- บัญชีหมายเลข I (ประกาศใช้เมื่อ 2004-07-15)
- บัญชีหมายเลข I (ประกาศใช้เมื่อ 2000-07-19)
CITES ไทย
- บัญชีหมายเลข 1
- บัญชีหมายเลข I
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |