ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติไทยประจัน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
- อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
- อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
- อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- พิษณุโลก
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- ประจวบคีรีขันธ์
- กาญจนบุรี
- กำแพงเพชร
- ราชบุรี
- ลำปาง, ลำพูน
- ตาก
- ตาก
- ชัยภูมิ
- แม่ฮ่องสอน
- ขอนแก่น, ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- ชัยภูมิ
- ขอนแก่น
- ขอนแก่น
- ลำปาง, แพร่
- กาญจนบุรี
- นครศรีธรรมราช
- ชลบุรี
- กำแพงเพชร
- จันทบุรี
- บุรีรัมย์
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- แพร่
- แพร่
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- เลย
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- บึงกาฬ
- บึงกาฬ
- กาฬสินธุ์
- เลย, เพชรบูรณ์
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ตาก
- ราชบุรี
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- พะเยา
- พะเยา
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- เชียงใหม่
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- เชียงใหม่
- ตาก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้นสูงถึง 10 เมตร ใบประกอบแบบนนกปลายคู่ เรียงสลับ ใบย่อย 6-9 คู่ รูปใบหอกถึงรูปไข่กว้าง ปลายเรียวแหลม โคนใบกลม กว้าง 2-5 ซม. ยาว 5-9 ซม. ผิวใบเกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง ก้านใบยาว 4-5 ซม. ก้านใบย่อย ยาว 4-6 ซม. ดอกช่อกระจะเชิงประกอบออกที่ปลายกิ่ง ยาว 9-20 ซม. ดอกย่อยจำนวนมาก ก้านดอกย่อยยาว 3 ซม. มีขน ใบประดับรูปไข่ ปลายแหลม ร่วงง่าย ยาว 4 มม. ใบประดับย่อยขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน ด้านนอก 2 กลีบ ขนาดเล็กกว่า ยาวประมาณ 5 มม. ด้านใน 3 กลีบยาวกว่ากลีบด้านนอก 2 เท่า รูปวงรีกว้าง ด้านนอกมีขนประปราย กลีบดอกสีเหลืองรูปไข่กลับ ยาว 15-18 มม. มีก้านกลีบยาว 4 มม.เกสรตัวผู้ 10 อันแบ่งเป็น 3 กลุ่ม 2 อัน ที่ขนาดใหญ่ที่สุดมีก้านชูอับเรณูแบบยาว 7 มม. อับเรณูโค้งยาว 7-9 มม. แตกที่รูตรงปลาย 5 อัน ขนาดสั้นกว่าและมีอับเรณูเล็กกว่า และอัก 3 อัน ลดขนาดลงยาวประมาณ 2 มม. ฝักรูปดาบ แบบ เกลี้ยง ผนังบาง กว้าง 2-4 มม. ยาว 15-22 ซม. มักบิดเมล็ดสีน้ำตาล กว้างประมาณ 5 มม. และยาวประมาณ 9 มม. มีประมาณ 20 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
- ในประเทศไทยพบได้มาทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคอื่น ๆ ยกเว้นภาคใต้ โดยมักขึ้นในบริเวณป่าโปร่ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าที่ราบต่ำทั่วไป และป่าผลัดใบที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลไม่เกิน 500 เมตร ส่วนในต่างประเทศพบขึ้นกระจายในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- แก่นมีรสขมเฝื่อน สรรพคุณเป็นยาแก้โลหิต แก้ลม รากมีสรรพคุณเป็นยาฟอกโลหิต ช่วยบำรุงโลหิต ดับพิษโลหิต ช่วยเจริญธาตุไฟ ยอดใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้โรคเบาหวาน ดอกใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้นอนไม่หลับ ช่วยถ่ายกระษัย ช่วยลดอุณหภูมิในร่างกาย ช่วยแก้โลหิตกำเดา ตำรายาไทยใช้แก่นเป็นยาถ่ายเสมหะ ขับเสมหะ ส่วนอีกข้อมูลระบุให้ใช้เปลือกต้นนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาขับเสมหะ แก่นมีสรรพคุณเป็นยาระบาย
ที่มาของข้อมูล