ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาเนื้อแข็งขนาดใหญ่ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก สองชั้น ใบย่อยรูปไข่กลับ กว้าง 1.3-3.5 ซม. ยาว 2.5-7 ซม. ปลายใบ แหลมถึงทู่เล็กน้อยและมักมีติ่งแหลม ดอก สีขาวแล้วเปลี่ยน เป็นสีเหลือง ออกเป็นช่อแกนยาว 13-25 ซม. ดอกย่อยขนาดเล็ก จำนวนมาก กลีบรองดอกรูปถ้วยปากกว้าง กลีบดอก 5 กลีบ รูปรีแคบ ถึงรูปหอก รังไข่เกลี้ยง ผล เป็นฝัก รูปขอบขนานตรง หรือโค้ง กว้าง 7-15 ซม. ยาวได้ถึง 2 เมตร เปลือกผลแข็งเป็นเนื้อไม้ แต่ละข้อมี 1 เมล็ด เมื่อแก่ข้อจะหักเป็นท่อนๆ เมล็ดสีน้ำตาล รูปกึ่งกลม แบน แข็ง ผิวมันเรียบ กว้าง 3.5-4 ซม.
-
ไม้เถาเนื้อแข็งขนาดใหญ่ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก สองชั้น ใบย่อยรูปไข่กลับ กว้าง 1.3-3.5 ซม. ยาว 2.5-7 ซม. ปลายใบ แหลมถึงทู่เล็กน้อยและมักมีติ่งแหลม ดอก สีขาวแล้วเปลี่ยน เป็นสีเหลือง ออกเป็นช่อแกนยาว 13-25 ซม. ดอกย่อยขนาดเล็ก จำนวนมาก กลีบรองดอกรูปถ้วยปากกว้าง กลีบดอก 5 กลีบ รูปรีแคบ ถึงรูปหอก รังไข่เกลี้ยง ผล เป็นฝัก รูปขอบขนานตรง หรือโค้ง กว้าง 7-15 ซม. ยาวได้ถึง 2 เมตร เปลือกผลแข็งเป็นเนื้อไม้ แต่ละข้อมี 1 เมล็ด เมื่อแก่ข้อจะหักเป็นท่อนๆ เมล็ดสีน้ำตาล รูปกึ่งกลม แบน แข็ง ผิวมันเรียบ กว้าง 3.5-4 ซม.
-
ไม้เถาเนื้อแข็งขนาดใหญ่ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก สองชั้น ใบย่อยรูปไข่กลับ กว้าง 1.3-3.5 ซม. ยาว 2.5-7 ซม. ปลายใบ แหลมถึงทู่เล็กน้อยและมักมีติ่งแหลม ดอก สีขาวแล้วเปลี่ยน เป็นสีเหลือง ออกเป็นช่อแกนยาว 13-25 ซม. ดอกย่อยขนาดเล็ก จำนวนมาก กลีบรองดอกรูปถ้วยปากกว้าง กลีบดอก 5 กลีบ รูปรีแคบ ถึงรูปหอก รังไข่เกลี้ยง ผล เป็นฝัก รูปขอบขนานตรง หรือโค้ง กว้าง 7-15 ซม. ยาวได้ถึง 2 เมตร เปลือกผลแข็งเป็นเนื้อไม้ แต่ละข้อมี 1 เมล็ด เมื่อแก่ข้อจะหักเป็นท่อนๆ เมล็ดสีน้ำตาล รูปกึ่งกลม แบน แข็ง ผิวมันเรียบ กว้าง 3.5-4 ซม.
-
ไม้เถาเนื้อแข็งขนาดใหญ่ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก สองชั้น ใบย่อยรูปไข่กลับ กว้าง 1.3-3.5 ซม. ยาว 2.5-7 ซม. ปลายใบ แหลมถึงทู่เล็กน้อยและมักมีติ่งแหลม ดอก สีขาวแล้วเปลี่ยน เป็นสีเหลือง ออกเป็นช่อแกนยาว 13-25 ซม. ดอกย่อยขนาดเล็ก จำนวนมาก กลีบรองดอกรูปถ้วยปากกว้าง กลีบดอก 5 กลีบ รูปรีแคบ ถึงรูปหอก รังไข่เกลี้ยง ผล เป็นฝัก รูปขอบขนานตรง หรือโค้ง กว้าง 7-15 ซม. ยาวได้ถึง 2 เมตร เปลือกผลแข็งเป็นเนื้อไม้ แต่ละข้อมี 1 เมล็ด เมื่อแก่ข้อจะหักเป็นท่อนๆ เมล็ดสีน้ำตาล รูปกึ่งกลม แบน แข็ง ผิวมันเรียบ กว้าง 3.5-4 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในเขตร้อนของทวีป แอฟริกา ทวีปเอเชียและอินโดเนเซีย ประเทศไทยพบทุกภาค ขึ้นพันไม้อื่นริมลำธารบริเวณป่าดงดิบหรือป่าผลัดใบ ที่ระดับ ความสูงได้ ถึง 900 เมตร ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
พบในเขตร้อนของทวีป แอฟริกา ทวีปเอเชียและอินโดเนเซีย ประเทศไทยพบทุกภาค ขึ้นพันไม้อื่นริมลำธารบริเวณป่าดงดิบหรือป่าผลัดใบ ที่ระดับ ความสูงได้ ถึง 900 เมตร ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
พบในเขตร้อนของทวีป แอฟริกา ทวีปเอเชียและอินโดเนเซีย ประเทศไทยพบทุกภาค ขึ้นพันไม้อื่นริมลำธารบริเวณป่าดงดิบหรือป่าผลัดใบ ที่ระดับ ความสูงได้ ถึง 900 เมตร ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
พบในเขตร้อนของทวีป แอฟริกา ทวีปเอเชียและอินโดเนเซีย ประเทศไทยพบทุกภาค ขึ้นพันไม้อื่นริมลำธารบริเวณป่าดงดิบหรือป่าผลัดใบ ที่ระดับ ความสูงได้ ถึง 900 เมตร ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แพร่,น่าน
-
อุบลราชธานี
-
นครศรีธรรมราช
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
ชุมพร
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
ผาแต้ม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เลื้อย/ไม้เถา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เปลือกแก้คันศีรษะต้มสระเมล็ด ผ่าออกต้มอาบในสัตว์ คันศีรษะ แก้พิษในสัตว์
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
-
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช