ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง ถึง 25 เมตร เมื่อสับเปลือกทิ้งไว้จะได้ชันสีแดง ยอดอ่อนมีขนสีเหลืองปกคลุม เปลือกเรียบ สีเทาอมแดง ใบ เป็นช่อแบบขนนกสองชั้น แต่ละช่อมีใบย่อย 4-5 คู่ ใบย่อยรูปไข่ หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ปลายใบแหลมมน ฐานใบมักจะเบี้ยว ใบแก่ เกลี้ยงหรืออาจจะมีขนประปรายด้านท้องใบ ดอก เป็นช่อเรียงแน่นบนช่อกลมเดี่ยว ๆ หรือ แตกกิ่งก้านเป็นกลุ่ม ๆ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางแต่ละช่อประมาณ 1.4 ซม. ก้านช่อดอกมีขนปกคลุมประปราย ดอกย่อยมีขนาดเล็กมีกลีบ 5 กลีบ สีเหลืองอ่อน เกสรผู้มี 10 อัน แยกจากกันเป็นอิสระ ผล เป็นฝักแบนรูปขอบขนาน เรียวและโค้งงอที่ส่วนปลาย ยาว 7-10 ซม. สีน้ำตาลอมเทา แข็ง ผิวเรียบ ไม่มีก้าน เมื่อแก่ฝักจะแตกออกเป็น 2 ซีก ผนังของฝักที่ตกมักจะม้วนบิดงอ เมล็ดแบน มีจำนวนหลายเมล็ด
-
ไม้ผลัดใบขนาดกลางถึงใหญ่ เปลือกเรียบสีเทาอมแดง ตกสะเก็ดออกเป็นแผ่นกลมบางๆ รอบลำต้น เนื้อไม้สีน้ำตาลแดง ใบเป็นช่อแบบขนนกสองชั้น ใบย่อยรูปไข่แกมรูปขอบขนาน แผ่นใบมักเบี้ยว ขนาดไม่เท่ากัน ปลายใบแหลมมน ดอกขนาดเล็ก อัดกันแน่นบนช่อกลมเดี่ยวๆ หรือแตกกิ่งก้าน หรือขึ้นเป็นกลุ่ม ๆ กลีบรองกลีบดอกเชื่อมติดกันคล้ายรูประฆัง ตรงปลายแยกเป็น 5 กลีบมีขนสีเหลืองปกคลุม กลีบดอก 5 กลีบติดกันเล็กน้อยที่บริเวณโคนกลีบ เกสรตัวผู้มี 10 อัน แยกจากกันเป็นอิสระ ยื่นออกมานอกดอก ผลเป็นฝักแบน ฝักแข็ง สีน้ำตาลอมเทา ผิวเรียบ เมื่อแก่จะแตกเป็น 2 ซีก เมล็ด แบน มีจำนวนหลายเม็ด
-
ไม้ผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง ถึง 25 เมตร เมื่อสับเปลือกทิ้งไว้จะได้ชันสีแดง ยอดอ่อนมีขนสีเหลืองปกคลุม เปลือกเรียบ สีเทาอมแดง ใบ เป็นช่อแบบขนนกสองชั้น แต่ละช่อมีใบย่อย 4-5 คู่ ใบย่อยรูปไข่ หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ปลายใบแหลมมน ฐานใบมักจะเบี้ยว ใบแก่ เกลี้ยงหรืออาจจะมีขนประปรายด้านท้องใบ ดอก เป็นช่อเรียงแน่นบนช่อกลมเดี่ยว ๆ หรือ แตกกิ่งก้านเป็นกลุ่ม ๆ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางแต่ละช่อประมาณ 1.4 ซม. ก้านช่อดอกมีขนปกคลุมประปราย ดอกย่อยมีขนาดเล็กมีกลีบ 5 กลีบ สีเหลืองอ่อน เกสรผู้มี 10 อัน แยกจากกันเป็นอิสระ ผล เป็นฝักแบนรูปขอบขนาน เรียวและโค้งงอที่ส่วนปลาย ยาว 7-10 ซม. สีน้ำตาลอมเทา แข็ง ผิวเรียบ ไม่มีก้าน เมื่อแก่ฝักจะแตกออกเป็น 2 ซีก ผนังของฝักที่ตกมักจะม้วนบิดงอ เมล็ดแบน มีจำนวนหลายเมล็ด
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 30 ม. มีขนตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง และก้านช่อดอก หูใบรูปเส้นด้าย ยาวประมาณ 3 มม. ใบประกอบ 2 ชั้น แกนกลางยาว 3-7 ซม. ใบประกอบย่อยมี 1 คู่ ยาว 10-30 ซม. ใบเกลี้ยง มีต่อมระหว่างใบประกอบย่อย ใบย่อยมี 3-6 คู่ รูปรี รูปไข่ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 4-14 ซม. ก้านใบย่อยยาว 2-3 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุกคล้ายช่อกระจะสั้น ๆ ก้านช่อโดดยาวได้ถึง 9 ซม. ใบประดับรูปช้อน ยาว 2-3 มม. ดอกสมบูรณ์เพศหรือดอกเพศผู้ มีขนสั้นหนานุ่ม หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3-4 มม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก กลีบดอก 5 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 3.5-4.5 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน แยกกัน ยาว 0.5-1.2 ซม. อับเรณูมีต่อม รังไข่มีขน ผลเป็นฝักโค้งคล้ายบูมเมอแรง ยาว 12-17 ซม. กว้าง 3.5-6 ซม. แห้งแตกอ้าออก มี 7-10 เมล็ด รูปรี แบน ๆ ยาวประมาณ 1 ซม.
-
ไม้ผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงถึง 25 เมตร เมื่อสับเปลือกทิ้งไว้จะได้ชันสีแดง ยอดอ่อนมี ขนสีเหลืองปกคลุม เปลือกเรียบ สีเทาอมแดง ใบเป็นช่อแบบขนนก 2 ชั้น แต่ละช่อมีใบย่อย 4-5 คู่ ใบย่อยรูปไข่หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ปลายใบแหลมมน ฐานใบมักจะเบี้ยว ใบแก่ เกลี้ยงหรือ อาจจะมีขนประปรายด้านท้องใบ ดอกเป็นช่อเรียงแน่นบนช่อกลมเดี่ยวๆ หรือแตกกิ่งก้านเป็นกลุ่มๆ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางแต่ละช่อประมาณ 1.4 ซม. ก้านช่อดอกมีขนปกคลุมประปราย ดอกย่อยมี ขนาดเล็กมี 5 กลีบ สีเหลืองอ่อน เกสรเพศผู้มี 10 อัน แยกจากกันเป็นอิสระ ผลเป็นฝักแบนรูปขอบ ขนาน เรียวและโค้งงอที่ส่วนปลาย ยาว 7-10 ซม. สีน้ำตาลอมเทา แข็ง ผิวเรียบ ไม่มีก้าน เมื่อฝักแก่ จะแตกออกเป็น 2 ซีก ผนังของฝักที่แตกมักจะม้วนบิดงอ เมล็ดแบน มีจำนวนหลายเมล็ด
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นได้ถึง 25 เมตร และบางครั้งอาจสูงได้ถึง 30-37 เมตร ลำต้นแดงค่อนข้างเปลาตรงหรือเป็นปุ่มปม ลักษณะของต้นเป็นทรงเรือนยอดรูปทรงกลมหรือเก้งก้างไม่ค่อยแน่นอน มีสีเขียวอมแดง เปลือกต้นเรียบสีเทาอมแดง มีตกสะเก็ดออกเป็นแผ่นกลมบางๆ รอบลำต้น และเมื่อสับเปลือกทิ้งไว้จะได้ชันที่มีสีแดง ส่วนยอดอ่อนมีขนสีเหลืองปกคลุมอยู่
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรังทั่วไป ถ้าขึ้นบนพื้นที่ดินลึก หรือดินค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าเบญจพรรณหรือพื้นที่ราบใต้น้ำมักจะมีลำต้นตรง
-
ตามธรรมชาติจะพบไม้แดงขึ้นอยู่ทั่วไปในป่าเบญจพรรณแล้งและชื้นและป่าเต็งรัง ทางภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ตอนเหนือสุราษฎร์ธานี ถ้าขึ้นบนพื้นที่ดินลึกหรือดินค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าเบญจพรรณพื้นที่ราบใกล้น้ำ ไม้จะมีลำต้นเปลาตรง แต่ถ้าขึ้นบนพื้นที่ดินตื้นหรือมีหินก้อน ต้นไม้จะแตกกิ่งต่ำและมีพุ่มใบมาก
-
พบในป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรังทั่วไป ถ้าขึ้นบนพื้นที่ดินลึก หรือดินค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าเบญจพรรณหรือพื้นที่ราบใต้น้ำมักจะมีลำต้นตรง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติไทยประจัน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
-
อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ พุเตย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ตะไคร้
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
แพร่,น่าน
-
เชียงใหม่
-
มุกดาหาร
-
ราชบุรี
-
พิษณุโลก
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ลำปาง
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
นครราชสีมา
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
กาญจนบุรี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
เชียงราย
-
เชียงราย
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กำแพงเพชร
-
กำแพงเพชร, ตาก
-
ลำปาง
-
ลำปาง
-
ราชบุรี
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
พะเยา
-
ตาก
-
ตาก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
สุพรรณบุรี
-
เลย
-
เลย
-
เลย
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
มุกดาหาร
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น
-
ขอนแก่น
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
ลำพูน, เชียงใหม่
-
เชียงราย, พะเยา
-
ลำปาง, แพร่
-
ลำปาง, แพร่
-
ลำปาง, ตาก
-
ลำปาง, ตาก
-
ลำปาง, ตาก
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
สุโขทัย
-
ตาก
-
ตาก
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
น่าน
-
น่าน
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ชลบุรี
-
กำแพงเพชร
-
กำแพงเพชร
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
เชียงใหม่
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
บุรีรัมย์
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
เลย
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
กาฬสินธุ์
-
กาฬสินธุ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
-
นนทบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
-
สุรินทร์
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น
-
ไม้ - เนื้อไม้มีสีแดงเรื่อๆ หรือเป็นสีน้ำตาลอมแดง มีเสี้ยนเป็นลูกคลื่นหรือมักสน เนื้อไม้ละเอียดพอประมาณ มีความแข็งแรง เหนียว และทนทานมาก สามารถเลื่อยไสกบ ตบแต่งได้เรียบร้อย ขัดชักเงาได้ดี โดยมีความถ่วงจำเพาะประมาณ 1.18 และเนื้อไม้มีความแข็งประมาณ 1,030 กิโลกรัม มีความทนทานตามธรรมชาติตั้งแต่ 10-18 ปี ส่วนการอาบน้ำยาไม้ทำได้ยาก (ชั้นสี่)
ใบ - ออกเป็นช่อแบบขนนกสองชั้น ช่อใบยาวประมาณ 10-22 เซนติเมตร ส่วนก้านใบยาวประมาณ 2-7 เซนติเมตร ในแต่ละช่อใบจะมีใบย่อยประมาณ 4-5 คู่ ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปไข่หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน แผ่นใบมักเบี้ยวและมีขนาดไม่เท่ากัน มีความกว้างประมาณ 3-7 เซนติเมตรและยาวประมาณ 7-20 เซนติเมตร ปลายใบแหลมมน ส่วนฐานใบมักเบี้ยว ใบแก่จะไม่มีขนปกคลุม หรืออาจมีบ้างประปรายด้านท้องใบเล็กน้อย ส่วนก้านใบย่อยจะยาวประมาณ 2-4 มิลลิเมตร
ดอก - ดอกมีสีเหลืองขนาดเล็ก มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ขึ้นอัดกันแน่นเป็นช่อกลมเดี่ยวๆ หรือแตกกิ่งก้าน หรือขึ้นเป็นกลุ่ม ในแต่ละช่อดอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.4 เซนติเมตร ส่วนก้านช่อดอกยาวประมาณ 2-5 เซนติเมตร มีขนขึ้นปกคลุมประปราย ส่วนกลีบรองกลีบดอกจะเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ตรงปลายแยกออกเป็น 5 กลีบ มีขนสีเหลืองขึ้นปกคลุม กลีบดอก 5 กลีบ ติดกันเล็กน้อยที่บริเวณฐาน และมีเกสรตัวผู้ 10 ก้าน แยกออกจากกันอย่างอิสระยื่นยาวออกมานอกดอก โดยดอกต้นแดงนี้จะออกดอกพร้อมกับใบอ่อนในช่วงเดือนกุมภาพันธุ์และอาจถึงเดือนมีนาคม
ผล/ฝัก - ผลมีลักษณะเป็นฝักแบนแข็ง ลักษณะเป็นรูปขอบขนานเรียวและโค้งงอที่
ส่วนปลาย ฝักมีความยาวประมาณ 7-10 เซนติเมตร ผิวฝักเรียบมีสีน้ำตาลอมเทา ไม่มีขนขึ้นปกคลุมและไม่มีก้าน เมื่อฝักแก่จะแตกออกเป็น 2 ซีก และเปลือกของฝักที่แตกมักจะม้วนบิดงอ ในหนึ่งฝักจะมีเมล็ดจำนวนหลายเมล็ด ประมาณ 6-10 เมล็ด โดยฝักจะแก่ในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม
เมล็ด - เมล็ดมีลักษณะแบนเรียวแหลม ยาวรีหรือเกือบกลม เมล็ดมีสีน้ำตาลเป็นมัน มีความกว้างประมาณ 0.35-0.5 นิ้ว และยาวประมาณ 0.4-0.7 นิ้ว เปลือกหุ้มเมล็ดแข็งพอประมาณ หากเมล็ดมีความสมบูรณ์ดีจะงอกได้ทันที แม้จะเก็บไว้ในระยะ 1 ปี ก็ยังคงงอกได้ดีเช่นเดิม
ใบ - ออกเป็นช่อแบบขนนกสองชั้น ช่อใบยาวประมาณ 10-22 เซนติเมตร ส่วนก้านใบยาวประมาณ 2-7 เซนติเมตร ในแต่ละช่อใบจะมีใบย่อยประมาณ 4-5 คู่ ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปไข่หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน แผ่นใบมักเบี้ยวและมีขนาดไม่เท่ากัน มีความกว้างประมาณ 3-7 เซนติเมตรและยาวประมาณ 7-20 เซนติเมตร ปลายใบแหลมมน ส่วนฐานใบมักเบี้ยว ใบแก่จะไม่มีขนปกคลุม หรืออาจมีบ้างประปรายด้านท้องใบเล็กน้อย ส่วนก้านใบย่อยจะยาวประมาณ 2-4 มิลลิเมตร
ดอก - ดอกมีสีเหลืองขนาดเล็ก มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ขึ้นอัดกันแน่นเป็นช่อกลมเดี่ยวๆ หรือแตกกิ่งก้าน หรือขึ้นเป็นกลุ่ม ในแต่ละช่อดอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.4 เซนติเมตร ส่วนก้านช่อดอกยาวประมาณ 2-5 เซนติเมตร มีขนขึ้นปกคลุมประปราย ส่วนกลีบรองกลีบดอกจะเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ตรงปลายแยกออกเป็น 5 กลีบ มีขนสีเหลืองขึ้นปกคลุม กลีบดอก 5 กลีบ ติดกันเล็กน้อยที่บริเวณฐาน และมีเกสรตัวผู้ 10 ก้าน แยกออกจากกันอย่างอิสระยื่นยาวออกมานอกดอก โดยดอกต้นแดงนี้จะออกดอกพร้อมกับใบอ่อนในช่วงเดือนกุมภาพันธุ์และอาจถึงเดือนมีนาคม
ผล/ฝัก - ผลมีลักษณะเป็นฝักแบนแข็ง ลักษณะเป็นรูปขอบขนานเรียวและโค้งงอที่
ส่วนปลาย ฝักมีความยาวประมาณ 7-10 เซนติเมตร ผิวฝักเรียบมีสีน้ำตาลอมเทา ไม่มีขนขึ้นปกคลุมและไม่มีก้าน เมื่อฝักแก่จะแตกออกเป็น 2 ซีก และเปลือกของฝักที่แตกมักจะม้วนบิดงอ ในหนึ่งฝักจะมีเมล็ดจำนวนหลายเมล็ด ประมาณ 6-10 เมล็ด โดยฝักจะแก่ในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม
เมล็ด - เมล็ดมีลักษณะแบนเรียวแหลม ยาวรีหรือเกือบกลม เมล็ดมีสีน้ำตาลเป็นมัน มีความกว้างประมาณ 0.35-0.5 นิ้ว และยาวประมาณ 0.4-0.7 นิ้ว เปลือกหุ้มเมล็ดแข็งพอประมาณ หากเมล็ดมีความสมบูรณ์ดีจะงอกได้ทันที แม้จะเก็บไว้ในระยะ 1 ปี ก็ยังคงงอกได้ดีเช่นเดิม
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ หรือป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 850 เมตร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย
-
เปลือกมีรสฝาด ช่วยสมานธาตุ ช่วยบำรุงหัวใจ แก่นบำรุงโลหิต แก่นนำมาใช้ผสมยาแก้ซางโลหิต ช่วยแก้โรคกษัย ช่วยแก้พิษโลหิต ช่วยดับพิษ แก้ไข้กาฬ ดอกนำมาใช้ผสมเป็นยาแก้ไข้ แก่นช่วยแก้ไข้ ท้องเสีย ช่วยแก้อาการท้องร่วง ช่วยแก้อาการปวดอักเสบ ของฝีชนิดต่างๆ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
IUCN Red List
-
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช