ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงถึง 15 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงเวียนสลับ ก้านใบรวมเป็นเหลี่ยม ยาว 15-30 ซม.ใบย่อย มี 5-8 คู่ รูปขอบขนาน กว้าง 2-4 ซม. ยาว 2-6 ซม. ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนงที่ปลายกิ่ง ช่อยาว 30-50 ซม. กลีบดอกสีขาว ยาว 4-8 มม. ผล เป็นฝักแบบถั่ว แบน บิดโค้ง กว้าง 0.5-1 ซม.ยาว 10-20 ซม. สีส้มถึงแดง แตกออกเป็น 2 แฉก เมล็ดรูปกลมแกมรี สีดำ
-
ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงถึง 15 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงเวียนสลับ ก้านใบรวมเป็นเหลี่ยม ยาว 15-30 ซม.ใบย่อย มี 5-8 คู่ รูปขอบขนาน กว้าง 2-4 ซม. ยาว 2-6 ซม. ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนงที่ปลายกิ่ง ช่อยาว 30-50 ซม. กลีบดอกสีขาว ยาว 4-8 มม. ผล เป็นฝักแบบถั่ว แบน บิดโค้ง กว้าง 0.5-1 ซม.ยาว 10-20 ซม. สีส้มถึงแดง แตกออกเป็น 2 แฉก เมล็ดรูปกลมแกมรี สีดำ
-
ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงถึง 15 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงเวียนสลับ ก้านใบรวมเป็นเหลี่ยม ยาว 15-30 ซม.ใบย่อย มี 5-8 คู่ รูปขอบขนาน กว้าง 2-4 ซม. ยาว 2-6 ซม. ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนงที่ปลายกิ่ง ช่อยาว 30-50 ซม. กลีบดอกสีขาว ยาว 4-8 มม. ผล เป็นฝักแบบถั่ว แบน บิดโค้ง กว้าง 0.5-1 ซม.ยาว 10-20 ซม. สีส้มถึงแดง แตกออกเป็น 2 แฉก เมล็ดรูปกลมแกมรี สีดำ
-
ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงถึง 15 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงเวียนสลับ ก้านใบรวมเป็นเหลี่ยม ยาว 15-30 ซม.ใบย่อย มี 5-8 คู่ รูปขอบขนาน กว้าง 2-4 ซม. ยาว 2-6 ซม. ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนงที่ปลายกิ่ง ช่อยาว 30-50 ซม. กลีบดอกสีขาว ยาว 4-8 มม. ผล เป็นฝักแบบถั่ว แบน บิดโค้ง กว้าง 0.5-1 ซม.ยาว 10-20 ซม. สีส้มถึงแดง แตกออกเป็น 2 แฉก เมล็ดรูปกลมแกมรี สีดำ
การกระจายพันธุ์ :
-
เขตร้อนและกึ่งร้อนในทวีปเอเชีย ประเทศไทย พบในป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากน้ำทะเล ประมาณ 1,000 ม.
-
เขตร้อนและกึ่งร้อนในทวีปเอเชีย ประเทศไทย พบในป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากน้ำทะเล ประมาณ 1,000 ม.
-
เขตร้อนและกึ่งร้อนในทวีปเอเชีย ประเทศไทย พบในป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากน้ำทะเล ประมาณ 1,000 ม.
-
เขตร้อนและกึ่งร้อนในทวีปเอเชีย ประเทศไทย พบในป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจากน้ำทะเล ประมาณ 1,000 ม.
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (พรุโต๊ะแดง)
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แพร่,น่าน
-
เชียงใหม่
-
สงขลา
-
เพชรบูรณ์
-
ลำปาง
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
สงขลา
-
ชุมพร
-
ชุมพร, ระนอง
-
นราธิวาส
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ชุมพร
-
ตาก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงถึง 15 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงเวียนสลับ ก้านใบรวมเป็นเหลี่ยม ยาว 15-30 ซม.ใบย่อย มี 5-8 คู่ รูปขอบขนาน กว้าง 2-4 ซม. ยาว 2-6 ซม. ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนงที่ปลายกิ่ง ช่อยาว 30-50 ซม. กลีบดอกสีขาว ยาว 4-8 มม. ผล เป็นฝักแบบถั่ว แบน บิดโค้ง กว้าง 0.5-1 ซม.ยาว 10-20 ซม. สีส้มถึงแดง แตกออกเป็น 2 แฉก เมล็ดรูปกลมแกมรี สีดำ
-
ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงถึง 15 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงเวียนสลับ ก้านใบรวมเป็นเหลี่ยม ยาว 15-30 ซม.ใบย่อย มี 5-8 คู่ รูปขอบขนาน กว้าง 2-4 ซม. ยาว 2-6 ซม. ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนงที่ปลายกิ่ง ช่อยาว 30-50 ซม. กลีบดอกสีขาว ยาว 4-8 มม. ผล เป็นฝักแบบถั่ว แบน บิดโค้ง กว้าง 0.5-1 ซม.ยาว 10-20 ซม. สีส้มถึงแดง แตกออกเป็น 2 แฉก เมล็ดรูปกลมแกมรี สีดำ
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด
-
เพาะเมล็ด
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช