ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
- พื้นที่เกษตรกรรมริมน้ำนนทบุรีและเกาะเกร็ด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
- ต้นคาง : เป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-20 เมตร ผลัดใบ โคนเป็นพูพอน เปลือกเรียบสีเทาอมน้ำตาลมีช่องระบายอากาศเป็นรูและเป็นร่องยาวทั่วไปลำต้นมีรอยแผล
ใบคาง : ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ปลายคู่เรียงสลับโคนก้านช่อรวมใบย่อยรูปขอบขนานและรปู เคยี ว 15-25 คู่ เรยี งตรงข้าม ปลายใบแหลมหรอื มนโคนใบเบยี้ วขอบใบเรียบใบเกลี้ยง ไม่มีก้านใบย่อย
ดอกคาง : สีขาวมีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่อดอกย่อยเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นมี 10-15 ช่อ กลีบเลี้ยงรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกเป็นหลอดถึงรูปปากแตรแคบมีขนปกคลุม ปลายแยกเป็น 5 แฉก
ผลคาง : ผลเป็นฝักแห้งแตกแบน สีน้ำตาลเข้มผิวเกลี้ยง เมล็ดนูนเรียงตามขวางหลายเมล็ด
- ต้นคาง : เป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-20 เมตร ผลัดใบ โคนเป็นพูพอน เปลือกเรียบสีเทาอมน้ำตาลมีช่องระบายอากาศเป็นรูและเป็นร่องยาวทั่วไปลำต้นมีรอยแผล
ใบคาง : ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ปลายคู่เรียงสลับโคนก้านช่อรวมใบย่อยรูปขอบขนานและรปู เคยี ว 15-25 คู่ เรยี งตรงข้าม ปลายใบแหลมหรอื มนโคนใบเบยี้ วขอบใบเรียบใบเกลี้ยง ไม่มีก้านใบย่อย
ดอกคาง : สีขาวมีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่อดอกย่อยเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นมี 10-15 ช่อ กลีบเลี้ยงรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกเป็นหลอดถึงรูปปากแตรแคบมีขนปกคลุม ปลายแยกเป็น 5 แฉก
ผลคาง : ผลเป็นฝักแห้งแตกแบน สีน้ำตาลเข้มผิวเกลี้ยง เมล็ดนูนเรียงตามขวางหลายเมล็ด
- ต้นคาง : เป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-20 เมตร ผลัดใบ โคนเป็นพูพอน เปลือกเรียบสีเทาอมน้ำตาลมีช่องระบายอากาศเป็นรูและเป็นร่องยาวทั่วไปลำต้นมีรอยแผล
ใบคาง : ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ปลายคู่เรียงสลับโคนก้านช่อรวมใบย่อยรูปขอบขนานและรปู เคยี ว 15-25 คู่ เรยี งตรงข้าม ปลายใบแหลมหรอื มนโคนใบเบยี้ วขอบใบเรียบใบเกลี้ยง ไม่มีก้านใบย่อย
ดอกคาง : สีขาวมีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่อดอกย่อยเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นมี 10-15 ช่อ กลีบเลี้ยงรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกเป็นหลอดถึงรูปปากแตรแคบมีขนปกคลุม ปลายแยกเป็น 5 แฉก
ผลคาง : ผลเป็นฝักแห้งแตกแบน สีน้ำตาลเข้มผิวเกลี้ยง เมล็ดนูนเรียงตามขวางหลายเมล็ด
- ต้นคาง : เป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-20 เมตร ผลัดใบ โคนเป็นพูพอน เปลือกเรียบสีเทาอมน้ำตาลมีช่องระบายอากาศเป็นรูและเป็นร่องยาวทั่วไปลำต้นมีรอยแผล
ใบคาง : ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ปลายคู่เรียงสลับโคนก้านช่อรวมใบย่อยรูปขอบขนานและรปู เคยี ว 15-25 คู่ เรยี งตรงข้าม ปลายใบแหลมหรอื มนโคนใบเบยี้ วขอบใบเรียบใบเกลี้ยง ไม่มีก้านใบย่อย
ดอกคาง : สีขาวมีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่อดอกย่อยเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นมี 10-15 ช่อ กลีบเลี้ยงรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกเป็นหลอดถึงรูปปากแตรแคบมีขนปกคลุม ปลายแยกเป็น 5 แฉก
ผลคาง : ผลเป็นฝักแห้งแตกแบน สีน้ำตาลเข้มผิวเกลี้ยง เมล็ดนูนเรียงตามขวางหลายเมล็ด
- ต้นคาง : เป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-20 เมตร ผลัดใบ โคนเป็นพูพอน เปลือกเรียบสีเทาอมน้ำตาลมีช่องระบายอากาศเป็นรูและเป็นร่องยาวทั่วไปลำต้นมีรอยแผล
ใบคาง : ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ปลายคู่เรียงสลับโคนก้านช่อรวมใบย่อยรูปขอบขนานและรปู เคยี ว 15-25 คู่ เรยี งตรงข้าม ปลายใบแหลมหรอื มนโคนใบเบยี้ วขอบใบเรียบใบเกลี้ยง ไม่มีก้านใบย่อย
ดอกคาง : สีขาวมีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามซอกใบและปลายกิ่ง ช่อดอกย่อยเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นมี 10-15 ช่อ กลีบเลี้ยงรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกเป็นหลอดถึงรูปปากแตรแคบมีขนปกคลุม ปลายแยกเป็น 5 แฉก
ผลคาง : ผลเป็นฝักแห้งแตกแบน สีน้ำตาลเข้มผิวเกลี้ยง เมล็ดนูนเรียงตามขวางหลายเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นนทบุรี
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- ลพบุรี
- ราชบุรี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
การขยายพันธุ์ :
- ทำได้ด้วยการใช้เมล็ด
- ทำได้ด้วยการใช้เมล็ด
- ทำได้ด้วยการใช้เมล็ด
- ทำได้ด้วยการใช้เมล็ด
- ทำได้ด้วยการใช้เมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ไม้ใช้สอย
ที่มาของข้อมูล