ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ผลัดใบสูงถึง 25 ม. เรือนยอดโปร่ง ด้านบนแบน กิ่งก้านแผ่กว้าง เปลือกต้นสีเทาอ่อน มีรอยย่นตามขวางและรูอากาศมาก เมื่ออายุมากเปลือกจะแตกเป็นร่องตามยาว เปลือกชั้นในสีชมพู มักมีเส้นสีขาวสลับ มียางสีแดง ใบ ก้านใบชั้นที่หนึ่ง (6) 10-16 คู่ ก้านยาวสุดมีใบย่อย 15-30 คู่ ใบย่อยเล็ก 0.6-1 x 0.2-0.3 ซม. มักจะโค้งปลายแหลม เส้นใบหลักไม่สมมาตรทอดไปตามแนวขอบบนของใบย่อย ยอดอ่อนมีหูใบเป็นแผ่นใหญ่ 2-3 ซม. ดอกเป็นช่อกลม 2.5-5.5 ซม. ดอกย่อยไม่มีก้าน ก้านช่อย่อย 1-3 ซม. ชั้นกลีบดอก 4-10 มม. ยาวกว่าชั้นกลีบเลี้ยง 2-3 เท่า เกสรตัวผู้ 10-25 มม. เชื่อมเป็นหลอดที่ฐานดอกย่อยตรงกลางต่างจากดอกรอบนอก โดยมีเกษรตัวผู้สั้นและหนากว่า ผลเป็นฝักแบนมาก 7-15x1.5-2 ซม. ไม่แตก แห้งเป็นสีเหลืองทองหรือน้ำตาลอ่อน เมล็ด +-0.7 ซม. แบน สีน้ำตาลเป็นมัน
-
ไม้ต้น สูง 10-20 ม. มีหูใบชัดเจน ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก แกนช่อใบยาว 10-25 ซม. บริเวณโคนมีต่อมรูปรี ขนาด 3 มม. ใบย่อยรูปขอบขนาน ตอนปลายม้วนเล็กน้อย กว้าง 0.3 ซม. ยาว 1 ซม. ดอกสีเขียวอ่อนปนเหลือง ออกเป็นช่อใหญ่ ยาว 15-20 ซม. ช่อดอกรวมกันเป็นกลุ่ม กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปกรวย ปลายแยกเป็น 5 แฉก เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 3-5 ซม. ผลสีน้ำตาลอ่อน เป็นฝักแบนรูปขอบขนาน กว้าง 2 ซม. ยาว 15 ซม.
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น สูง 10-20 ม. มีหูใบชัดเจน ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก แกนช่อใบยาว 10-25 ซม. บริเวณโคนมีต่อมรูปรี ขนาด 3 มม. ใบย่อยรูปขอบขนาน ตอนปลายม้วนเล็กน้อย กว้าง 0.3 ซม. ยาว 1 ซม. ดอกสีเขียวอ่อนปนเหลือง ออกเป็นช่อใหญ่ ยาว 15-20 ซม. ช่อดอกรวมกันเป็นกลุ่ม กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปกรวย ปลายแยกเป็น 5 แฉก เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 3-5 ซม. ผลสีน้ำตาลอ่อน เป็นฝักแบนรูปขอบขนาน กว้าง 2 ซม. ยาว 15 ซม.
-
ไม้ต้น สูง 10-20 ม. มีหูใบชัดเจน ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก แกนช่อใบยาว 10-25 ซม. บริเวณโคนมีต่อมรูปรี ขนาด 3 มม. ใบย่อยรูปขอบขนาน ตอนปลายม้วนเล็กน้อย กว้าง 0.3 ซม. ยาว 1 ซม. ดอกสีเขียวอ่อนปนเหลือง ออกเป็นช่อใหญ่ ยาว 15-20 ซม. ช่อดอกรวมกันเป็นกลุ่ม กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปกรวย ปลายแยกเป็น 5 แฉก เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 3-5 ซม. ผลสีน้ำตาลอ่อน เป็นฝักแบนรูปขอบขนาน กว้าง 2 ซม. ยาว 15 ซม.
-
ไม้ต้น สูง 10-20 ม. มีหูใบชัดเจน ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก แกนช่อใบยาว 10-25 ซม. บริเวณโคนมีต่อมรูปรี ขนาด 3 มม. ใบย่อยรูปขอบขนาน ตอนปลายม้วนเล็กน้อย กว้าง 0.3 ซม. ยาว 1 ซม. ดอกสีเขียวอ่อนปนเหลือง ออกเป็นช่อใหญ่ ยาว 15-20 ซม. ช่อดอกรวมกันเป็นกลุ่ม กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปกรวย ปลายแยกเป็น 5 แฉก เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 3-5 ซม. ผลสีน้ำตาลอ่อน เป็นฝักแบนรูปขอบขนาน กว้าง 2 ซม. ยาว 15 ซม.
ระบบนิเวศ :
-
พบตามป่าดงดิบ ป่าผลัดใบ และป่าริมน้ำ
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบมากทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่ากึ่งดงดิบและป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูงถึง 1,800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม
-
พบในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบมากทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่ากึ่งดงดิบและป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูงถึง 1,800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม
-
พบในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบมากทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่ากึ่งดงดิบและป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูงถึง 1,800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม
-
พบในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบมากทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่ากึ่งดงดิบและป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูงถึง 1,800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แพร่,น่าน
-
พะเยา,น่าน
-
เชียงใหม่
-
ลำปาง
-
ลำปาง
-
เชียงราย
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุบลราชธานี
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุบลราชธานี
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ตาก
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช