ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูง 2-5 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่ กว้าง 1.5-4 ซม. ยาว 2.5-6 ซม. ช่อดอกเป็นกระจุก มีดอกย่อย 2-8 ดอก ออกตามซอกใบหรือตามข้อที่ใบร่วงไปแล้ว ดอกสีขาวอมม่วง กลีบดอก 4 กลีบ ฐานดอกรูปถ้วย สีเขียว ผลมีเนื้อ หนึ่งถึงหลายเมล็ด ทรงกลม เมื่อสุกสีม่วงเข้มถึงดำ ออกดอกเดือน เม.ย.-พ.ค.
-
ไม้พุ่ม สูง 2-5 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่ กว้าง 1.5-4 ซม. ยาว 2.5-6 ซม. ช่อดอกเป็นกระจุก มีดอกย่อย 2-8 ดอก ออกตามซอกใบหรือตามข้อที่ใบร่วงไปแล้ว ดอกสีขาวอมม่วง กลีบดอก 4 กลีบ ฐานดอกรูปถ้วย สีเขียว ผลมีเนื้อ หนึ่งถึงหลายเมล็ด ทรงกลม เมื่อสุกสีม่วงเข้มถึงดำ ออกดอกเดือน เม.ย.-พ.ค.
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม-เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหมู่เกาะลิบง–ปากน้ำตรัง
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
พะเยา,น่าน
-
มุกดาหาร
-
สุราษฎร์ธานี
-
พิษณุโลก
-
สระบุรี
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
พัทลุง
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
ระยอง
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ลำปาง
-
ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ลำปาง, ลำพูน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
สระแก้ว
-
ขอนแก่น
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
ลำปาง, ตาก
-
ลำปาง, ตาก
-
ลำปาง, ตาก
-
สงขลา
-
สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
สตูล, สงขลา
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ศรีสะเกษ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
ราชบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ตาก
-
ตาก
-
หนองคาย
-
สุรินทร์
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มกึ่งไม้ต้นขนาดเล็ก
-
เป็นไม้พุ่มกึ่งยืนต้นขนาดเล็ก มีความสูงประมาณ 1-3 เมตร เปลือกของลำต้นขรุขระเป็นร่อง มีสีน้ำตาลดำ สามารถพบได้มากตามป่าโคกข่าว ป่าโคกหินลาดหนองคู-นาดูน ป่าโคกดงเค็ง ป่าชุมชนดงใหญ่ เป็นต้น ใบพลองเหมือด เป็นใบเดี่ยวออกตรงข้ามกัน ลักษณะของใบรูปวงรีคล้ายโล่ แผ่นใบเรียบเป็นมันมีสีเขียวเข้ม ม้วนขึ้นเขาหาเส้นกลางใบเล็กน้อย ปลายใบแหลม ขอบใบขนาน ความกว้างของใบประมาณ 2-3 เซนติเมตร และยาวประมาณ 3-5 เซนติเมตร ดอกพลองเหมือด เป็นช่อดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบ กลีบดอกมีสีม่วง มีฐานรองดอกคล้ายรูประฆัง ผลพลองเหมือด ผลเป็นผลเดี่ยวคล้ายลูกหว้า ผลดิบมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะมีสีม่วงเกือบดำ ข้างในผลมีเมล็ด 1 เมล็ด ลักษณะกลม
-
เป็นไม้พุ่มกึ่งยืนต้นขนาดเล็ก มีความสูงประมาณ 1-3 เมตร เปลือกของลำต้นขรุขระเป็นร่อง มีสีน้ำตาลดำ สามารถพบได้มากตามป่าโคกข่าว ป่าโคกหินลาดหนองคู-นาดูน ป่าโคกดงเค็ง ป่าชุมชนดงใหญ่ เป็นต้น ใบพลองเหมือด เป็นใบเดี่ยวออกตรงข้ามกัน ลักษณะของใบรูปวงรีคล้ายโล่ แผ่นใบเรียบเป็นมันมีสีเขียวเข้ม ม้วนขึ้นเขาหาเส้นกลางใบเล็กน้อย ปลายใบแหลม ขอบใบขนาน ความกว้างของใบประมาณ 2-3 เซนติเมตร และยาวประมาณ 3-5 เซนติเมตร ดอกพลองเหมือด เป็นช่อดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบ กลีบดอกมีสีม่วง มีฐานรองดอกคล้ายรูประฆัง ผลพลองเหมือด ผลเป็นผลเดี่ยวคล้ายลูกหว้า ผลดิบมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะมีสีม่วงเกือบดำ ข้างในผลมีเมล็ด 1 เมล็ด ลักษณะกลม
-
เป็นไม้พุ่มกึ่งยืนต้นขนาดเล็ก มีความสูงประมาณ 1-3 เมตร เปลือกของลำต้นขรุขระเป็นร่อง มีสีน้ำตาลดำ สามารถพบได้มากตามป่าโคกข่าว ป่าโคกหินลาดหนองคู-นาดูน ป่าโคกดงเค็ง ป่าชุมชนดงใหญ่ เป็นต้น ใบพลองเหมือด เป็นใบเดี่ยวออกตรงข้ามกัน ลักษณะของใบรูปวงรีคล้ายโล่ แผ่นใบเรียบเป็นมันมีสีเขียวเข้ม ม้วนขึ้นเขาหาเส้นกลางใบเล็กน้อย ปลายใบแหลม ขอบใบขนาน ความกว้างของใบประมาณ 2-3 เซนติเมตร และยาวประมาณ 3-5 เซนติเมตร ดอกพลองเหมือด เป็นช่อดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบ กลีบดอกมีสีม่วง มีฐานรองดอกคล้ายรูประฆัง ผลพลองเหมือด ผลเป็นผลเดี่ยวคล้ายลูกหว้า ผลดิบมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะมีสีม่วงเกือบดำ ข้างในผลมีเมล็ด 1 เมล็ด ลักษณะกลม
การขยายพันธุ์ :
-
สามารถขยายพันธุ์ได้โดยการใช้เมล็ด
-
สามารถขยายพันธุ์ได้โดยการใช้เมล็ด
-
สามารถขยายพันธุ์ได้โดยการใช้เมล็ด
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมป่าไม้
-
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |