ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร กิ่งเปราะ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ออกเวียนสลับเป็นกลุ่มตามปลายกิ่ง ใบย่อยมีจำนวนมาก รูปรีขอบขนาน ขนาดกว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 3-6 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบสอบและมักบิดเบี้ยว ขอบใบจัก ดอกสีขาวอมม่วงหรือชมพู มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง กลีบดอก 5-6 กลีบ เมื่อบานขนาดผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. เกสรผู้ 10 อัน ก้านเกสรสีม่วงติดกันเป็นหลอด ผลรูปกลมรี กว้างประมาณ 1 ซม. ยาวประมาณ 2.5 ซม. ผลแก่สีเหลือง เมล็ดมี 1 เมล็ด
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้น สูง 10-20 เมตร ใบ:ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงเวียนเป็นกลุ่มบริเวณปลายยอด รูปรีแกมรูปขอบขนาน ยาว 5-6 เซนติเมตร กว้าง 2-3 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลม ฐานสอบและเบี้ยว ขอบใบจัก ดอก:ดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ปลายยอด กลีบเลี้ยง มี 5-6 กลีบ กลีบดอกมี 5-6 กลีบ สีขาวอมม่วงหรือชมพู มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ รูปรีแกมรูปขอบขนาน เกสรเพศผู้ มี 10 อัน ก้านเกสรสีม่วง เชื่อมติดกันเป็นหลอด เกสรเพศเมีย มีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ รูปรี ยอดเกสรแผ่แบนผล:ผลเมล็ดเดียวแข็ง รูปกลมรี ผลสุกสีเหลือง เปลือก:อื่นๆ:

ไม้ต้น สูง 10-20 เมตร
ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงเวียนเป็นกลุ่มบริเวณปลายยอด รูปรีแกมรูปขอบขนาน ยาว 5-6 เซนติเมตร กว้าง 2-3 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลม ฐานสอบและเบี้ยว ขอบใบจัก
ดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ปลายยอด กลีบเลี้ยง มี 5-6 กลีบ กลีบดอกมี 5-6 กลีบ สีขาวอมม่วงหรือชมพู มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ รูปรีแกมรูปขอบขนาน เกสรเพศผู้ มี 10 อัน ก้านเกสรสีม่วง เชื่อมติดกันเป็นหลอด เกสรเพศเมีย มีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ รูปรี ยอดเกสรแผ่แบน
ผลเมล็ดเดียวแข็ง รูปกลมรี ผลสุกสีเหลือง

- ไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 40 เมตร ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลับ ยาว 15-80 ซม. ช่อใบประกอบย่อย 3-7 คู่ ใบย่อย 3-7 คู่ ต่อช่อใบประกอบย่อย ใบย่อยรูปไข่หรือรูปใบหอกแกมขอบขนานถึงรูปวงรี กว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 3-6 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบแหลมถึงกลม ขอบใบเรียบถึงจักฟันเลื่อย เส้นใบ 7-10 คู่ ดอกช่อกระจุกแยกแขนงออกที่ซอกใบยาว 10-22 ซม. มีกลิ่นหอม ใบประดับรูปเส้นด้ายยาว 3-10 มม. ใบประดับย่อยขนาดเล็กกว่าด้านดอกย่อยยาวประมาณ 2-3 มม. กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันปลายแยกเป็นแฉกรูปไข่ ยาวประมาณ 2 มม. ขอบกลีบมีขนครุย กลีบดอกรูปขอบขนานแคบ สีขาวถึงม่วงหรือน้ำเงิน กว้างประมาณ 2 มม. ยาว 6-10 มม. เกสรตัวผู้เชื่อมติดกันเป็นหลอด อับเรณูยาวประมาณ 1.5 มม. ปลายเป็นติ่งแหลมอ่อน ผลสดมีเมล็ดเดียว รูปลูกพลัม สีน้ำตาลแกมเหลืองเมื่อสุก กว้าง 1-2 ซม. ยาว 2-4 ซม. เมล็ดรูปขอบขนาน สีน้ำตาล ผิวเกลี้ยง กว้างประมาณ 1.6 มม. ยาว 3.5 มม.
- ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร กิ่งเปราะ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ออกเวียนสลับเป็นกลุ่มตามปลายกิ่ง ใบย่อยมีจำนวนมาก รูปรีขอบขนาน ขนาดกว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 3-6 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบสอบและมักบิดเบี้ยว ขอบใบจัก ดอกสีขาวอมม่วงหรือชมพู มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง กลีบดอก 5-6 กลีบ เมื่อบานขนาดผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. เกสรผู้ 10 อัน ก้านเกสรสีม่วงติดกันเป็นหลอด ผลรูปกลมรี กว้างประมาณ 1 ซม. ยาวประมาณ 2.5 ซม. ผลแก่สีเหลือง เมล็ดมี 1 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
- มีถิ่นกำเนิดในเอเชีย เป็นไม้เบิกนำ พบขึ้นทั่วไปตามชายป่าดิบ และป่าเบญจพรรณ
- พบในป่าเบญจพรรณ ต่างประเทศพบในประเทศแถบเอเชียใต้ จีน ถูกนำไปปลูกในแอฟริกา อเมริกากลาง ถึงสหรัฐอเมริกาตอนใต้
- เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดเอเชียใต้ ตั้งแต่อิหร่าน และแถบภูเขาหิมาลัย ต่อเนื่องมาจนถึงประเทศไทย รวมถึงทางตอนใต้ของจีนญี่ปุ่น แล้วมีการกระจายพันธุ์ไปทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิคจนถึงประเทศออสเตรเลียทางด้านตะวันออก และปาปัวนิวกินี นอกจากนี้พบในแถบอเมริกาใต้ เช่น บราซิล อาร์เจนติน
- มีถิ่นกำเนิดในเอเชีย เป็นไม้เบิกนำ พบขึ้นทั่วไปตามชายป่าดิบ และป่าเบญจพรรณ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าสาลีก ป่าสงวนแห่งชาติป่าประดางและป่าวังก์เจ้า ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
- อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุทัยธานี
- กำแพงเพชร, ตาก
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- สระบุรี
- ลพบุรี
- พะเยา, น่าน
- แพร่
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชัยภูมิ
- ตาก
- แพร่, อุตรดิตถ์
- กาญจนบุรี
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- สมุทรปราการ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- เนื้อไม้ใช้ทำด้ามเครื่องมือ ดอกอ่อนและยอดอ่อนเป็นอาหาร รากเป็นยาขับพยาธิ เปลือกลำต้นและกิ่งใช้ทำเชือก ใบใช้ทำสีย้อมผ้าให้สีเขียว
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2018)