ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปขอบขนาน แกมรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 10-45 ซม. แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 0.5-2 ซม. ช่อดอกตั้งตรง ยาวได้ถึง 30 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ก้านดอกเทียมยาว 0.5-2 ซม. ขยายในผลเล็กน้อย ตาดอกรูปกลมหรือรูปไข่ ยาว 1-1.6 ซม. ปลายส่วนมากไม่มีจุก หลอดกลีบเลี้ยงยาว 5-8 มม. มีสันตามยาวประมาณ 12 สัน ด้านนอกมีขนละเอียด กลีบหนา รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1 ซม. บานออกในผล ดอกสีชมพูอมม่วง กลีบรูปกลม ๆ ยาว 3-4 ซม. ขอบย่น ก้านกลีบยาว 1-1.5 ซม. เกสรเพศผู้ยาวเท่า ๆ กัน รังไข่เกลี้ยง ผลรูปรีกว้างหรือเกือบกลม ยาว 3-4 ซม. เกลี้ยง ปลายมีติ่งแหลม แตกเป็น 6 ซีก
- ไม้ต้น สูง 8-15 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเป็นคู่หรือเยื้องกันเล็กน้อย รูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 6-18 ซม. ยาว 14-40 ซม. โคนใบมน ปลายใบมนหรือแหลม แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบยาว 5-18 ททซ ดอกสีชมพูถึงม่วงแดง หรือซีดขาวออกเป็นช่อยาว 10-30 ซม. ดอกตูมเป็นรูปลูกข่าง ส่วนบนมีรอยบุ๋มตามยาว ดอกบานกว้าง 7-12 ซม. กลีบรองดอกรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 6 แฉก กลีบดอกมี 6 กลีบ รูปค่อนข้างกลม โคนกลีบสอบ เรียวเป็นก้าน เกสรผ้ำจนวนมาก เป็นกระจุกสีเหลืองอยู่กลางดอก ผลเป็นผลแห้งรูปไข่หรือป้อมรี ยาว 3-4 ซม. เมื่อแก่แตกเป็น 5-6 แฉก เมล็ดขนาดเล็กสีน้ำตาล มีปีกบางโค้งทางด้านบนหนึ่งปีก
- ไม้ต้น สูง 8-15 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเป็นคู่หรือเยื้องกันเล็กน้อย รูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 6-18 ซม. ยาว 14-40 ซม. โคนใบมน ปลายใบมนหรือแหลม แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบยาว 5-18 ททซ ดอกสีชมพูถึงม่วงแดง หรือซีดขาวออกเป็นช่อยาว 10-30 ซม. ดอกตูมเป็นรูปลูกข่าง ส่วนบนมีรอยบุ๋มตามยาว ดอกบานกว้าง 7-12 ซม. กลีบรองดอกรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 6 แฉก กลีบดอกมี 6 กลีบ รูปค่อนข้างกลม โคนกลีบสอบ เรียวเป็นก้าน เกสรผ้ำจนวนมาก เป็นกระจุกสีเหลืองอยู่กลางดอก ผลเป็นผลแห้งรูปไข่หรือป้อมรี ยาว 3-4 ซม. เมื่อแก่แตกเป็น 5-6 แฉก เมล็ดขนาดเล็กสีน้ำตาล มีปีกบางโค้งทางด้านบนหนึ่งปีก
ระบบนิเวศ :
- ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
- พบในอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามป่าเต็งรัง และป่าเบญจพรรณ ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
- พบในอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามป่าเต็งรัง และป่าเบญจพรรณ ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- จันทบุรี
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- เลย
- สกลนคร, กาฬสินธุ์
- สุโขทัย
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- กาญจนบุรี
- ชลบุรี
- กำแพงเพชร
- กำแพงเพชร
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- เชียงใหม่
- ลำพูน, ลำปาง
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- เลย
- บึงกาฬ
- บึงกาฬ
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,ไม้ดอกไม้ประดับ,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย