ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. กิ่งมีช่องอากาศ มีขนละเอียดตามช่อดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก ใบประกอบเรียงเวียน มีใบย่อยข้างละ 10-15 ใบ เรียงสลับหรือเกือบตรงข้าม ก้านใบประกอบยาว 4-10 ซม. ใบย่อยรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 4-15 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว แผ่นใบด้านล่างมักมีขนละเอียด ก้านใบย่อยยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ยาวได้ถึง 20 ซม. ใบประดับคล้ายใบ ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 4-5 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาวประมาณ 2 มม. ดอกสีครีมอมเขียวหรือน้ำตาล มี 5 กลีบ รูปใบพาย ยาว 1-1.5 ซม. เกสรเพศผู้เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายตัด ยาว 5-6 มม. อับเรณู 10 อัน ติดที่ปลายหลอด ก้านชูอับเรณูสั้น รังไข่ มี 3-5 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียรูปทรงกระบอก สั้น ยอดเกสรจัก 3-5 พู ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 4-4.5 ซม. เปลือกแข็ง มีช่องอากาศหรือตุ่มหนาแน่น เมล็ดจำนวนมาก รูปรี แบน ยาวประมาณ 3 มม. ปลายมีปีกยาวประมาณ 1 ซม.
-
ไม้ต้น สูง 15-20 ม. ใบประกอบขนนก เรียงแบบเวียน ยาว 30-85 ซม. ใบย่อย 8-13 คู่ รูปไข่ถึงรูปขอบขนาน กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 7-13 ซม. ช่อดอกแบบแยกแขนง ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอ่อน หรือเหลืองอมน้ำตาล ก้านเกสรเพศผู้เชื่อมกันเป็นหลอด ผลแห้งแตก รูปทรงรี ออกดอกเดือน ก.ค.-ก.ย.
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. กิ่งมีช่องอากาศ มีขนละเอียดตามช่อดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก ใบประกอบเรียงเวียน มีใบย่อยข้างละ 10–15 ใบ เรียงสลับหรือเกือบตรงข้าม ก้านใบประกอบยาว 4–10 ซม. ใบย่อยรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 4–15 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว แผ่นใบด้านล่างมักมีขนละเอียด ก้านใบย่อยยาว 0.5–1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ยาวได้ถึง 20 ซม. ใบประดับคล้ายใบ ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 4–5 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาวประมาณ 2 มม. ดอกสีครีมอมเขียวหรือน้ำตาล มี 5 กลีบ รูปใบพาย ยาว 1–1.5 ซม. เกสรเพศผู้เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายตัด ยาว 5–6 มม. อับเรณู 10 อัน ติดที่ปลายหลอด ก้านชูอับเรณูสั้น รังไข่ มี 3–5 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียรูปทรงกระบอก สั้น ยอดเกสรจัก 3–5 พู ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 4–4.5 ซม. เปลือกแข็ง มีช่องอากาศหรือตุ่มหนาแน่น เมล็ดจำนวนมาก รูปรี แบน ยาวประมาณ 3 มม. ปลายมีปีกยาวประมาณ 1 ซม.
-
ไม้ต้น สูง 15-20 ม. ใบประกอบขนนก เรียงแบบเวียน ยาว 30-85 ซม. ใบย่อย 8-13 คู่ รูปไข่ถึงรูปขอบขนาน กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 7-13 ซม. ช่อดอกแบบแยกแขนง ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอ่อน หรือเหลืองอมน้ำตาล ก้านเกสรเพศผู้เชื่อมกันเป็นหลอด ผลแห้งแตก รูปทรงรี ออกดอกเดือน ก.ค.-ก.ย.
-
ไม้ต้น สูง 15-20 ม. ใบประกอบขนนก เรียงแบบเวียน ยาว 30-85 ซม. ใบย่อย 8-13 คู่ รูปไข่ถึงรูปขอบขนาน กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 7-13 ซม. ช่อดอกแบบแยกแขนง ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอ่อน หรือเหลืองอมน้ำตาล ก้านเกสรเพศผู้เชื่อมกันเป็นหลอด ผลแห้งแตก รูปทรงรี ออกดอกเดือน ก.ค.-ก.ย.
-
ไม้ต้น สูง 15-20 ม. ใบประกอบขนนก เรียงแบบเวียน ยาว 30-85 ซม. ใบย่อย 8-13 คู่ รูปไข่ถึงรูปขอบขนาน กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 7-13 ซม. ช่อดอกแบบแยกแขนง ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอ่อน หรือเหลืองอมน้ำตาล ก้านเกสรเพศผู้เชื่อมกันเป็นหลอด ผลแห้งแตก รูปทรงรี ออกดอกเดือน ก.ค.-ก.ย.
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นหลากหลายสภาพป่า หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1600 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
-
-
-
-
-
-
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำผาท่าพล
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
แพร่,น่าน
-
พะเยา,น่าน
-
มุกดาหาร
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ลำปาง
-
พิษณุโลก
-
พะเยา, เชียงราย
-
อุตรดิตถ์
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
ระยอง, จันทบุรี
-
ระยอง, จันทบุรี
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ลำปาง, ลำพูน
-
พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
นครศรีธรรมราช
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
เลย
-
ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
ลำปาง, แพร่
-
ลำปาง, ตาก
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
ตาก
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
ชุมพร, ระนอง
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ลำปาง
-
นนทบุรี
-
ชุมพร, สุราษฎร์ธานี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,งานศิลปะ,เชื้อเพลิง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2018)
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช