ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม กิ่งก้านมีขนรูปดาวสีขาว ใบเดี่ยวเรียงสลับ ใบรูปไข่หรือรูปวงรี ท้องใบมีขนสีขาว ดอกเป็นช่อออกที่ซอกใบ แยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน ไม่มีกลีบ ผลแห้งไม่แตก มี 3 พู ลักษณะเป็นเส้นใยสีขาว
การกระจายพันธุ์ :
-
พบได้ตามป่าดิบ ป่าไม่ผลัดใบ ป่าเขาหินปูน ที่ระดับความสูง 300-400 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สงขลา
-
สตูล
-
บุรีรัมย์
-
ชัยภูมิ
-
บึงกาฬ
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สรรพคุณตามตำราไทย
ไม่ระบุส่วนที่ใช้ แก้เสมหะและลม แก้หืด หอบ บำรุงหัวใจให้ชุ่มชื่น บำรุงกระดูก โกฐนี้จัดอยู่ในพิกัดโกฐทั้ง 7 (สัตตโกฐ) และโกฐทั้ง 9 (เนาวโกฐ)
ที่มาของข้อมูล
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช