ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูง 20-25 ม. กิ่งอ่อนมีรอยแผลระบายอากาศทั่วไป ปลายยอดมีขนสีน้ำตาลแน่น ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 11-12 ซม. ยาว 17-26 ซม. โคนมน ปลายทู่ ผลใบด้านล่างมีขนสีเทาคลุมแน่น ก้านใบยาว 3-3.5 ซม. ดอกสีขาวถึงเหลืองอ่อน ดอกตูมรูปกระสวย ยาว 2.5-3 ซม. ก้านดอกยาว 1.2-1.5 ซม. กลีบดอกมี 12 กลีบ กลีบนอกสุดรูปไข่กลับโคนแคบ กว้าง 1.4 ซม. ยาว 3 ซม. เกสรผู้เป็นรยางค์สั้น ยาว 5-6 ซม. กลุ่มเกสรเมียยาว 1 ซม. รังไข่ปกคลุมด้วยขนสีทอง ผลเป็นผลกลุ่ม อยู่รวมกันเป็นก้อน ก้อนช่อรวมยาว 10-20 ซม. มี 3-15 ผล แต่ละผลรูปไข่แกมมน กว้าง 1.3-1.7 ซม. ยาว 2-3 ซม. ผิวมีแผลระบายอากาศทั่วไป
- ไม้ต้น สูง 20-25 ม. กิ่งอ่อนมีรอยแผลระบายอากาศทั่วไป ปลายยอดมีขนสีน้ำตาลแน่น ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 11-12 ซม. ยาว 17-26 ซม. โคนมน ปลายทู่ ผลใบด้านล่างมีขนสีเทาคลุมแน่น ก้านใบยาว 3-3.5 ซม. ดอกสีขาวถึงเหลืองอ่อน ดอกตูมรูปกระสวย ยาว 2.5-3 ซม. ก้านดอกยาว 1.2-1.5 ซม. กลีบดอกมี 12 กลีบ กลีบนอกสุดรูปไข่กลับโคนแคบ กว้าง 1.4 ซม. ยาว 3 ซม. เกสรผู้เป็นรยางค์สั้น ยาว 5-6 ซม. กลุ่มเกสรเมียยาว 1 ซม. รังไข่ปกคลุมด้วยขนสีทอง ผลเป็นผลกลุ่ม อยู่รวมกันเป็นก้อน ก้อนช่อรวมยาว 10-20 ซม. มี 3-15 ผล แต่ละผลรูปไข่แกมมน กว้าง 1.3-1.7 ซม. ยาว 2-3 ซม. ผิวมีแผลระบายอากาศทั่วไป
การกระจายพันธุ์ :
- เป็นไม้เฉพาะถิ่นของไทย ในป่าดิบเขาทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ระดับความสูง 1,000-1,300 ม.
- เป็นไม้เฉพาะถิ่นของไทย ในป่าดิบเขาทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ระดับความสูง 1,000-1,300 ม.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง