ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ เขานัน
- อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
- อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
- อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้พุ่ม
- ไม้พุ่ม/ไม้ต้นขนาดเล็ก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุบลราชธานี
- นครศรีธรรมราช
- พัทลุง
- จันทบุรี
- สตูล
- นครศรีธรรมราช
- นครศรีธรรมราช
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ชุมพร
- ตาก
- ตาก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก ลำต้น สูง 3-5 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5-8 เซนติเมตร ลักษณะลำต้นเกลี้ยง ใบ ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยมี 3-5 ใบ รูปขอบขนานแกมรูปไข่หรือรูปรี ขนาด 7-10 x 8-22 เซนติเมตรปลายใบแหลม โคนใบสอบ หรือเว้าเล็กน้อย ขอบใบหยักซี่ฟัน ดอก สีขาวอมเขียว ออกเป็นช่อแยกแขนง ช่อดอกยาว 15-20 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงยาว 0.2-0.3 เซนติเมตร เชื่อมติดกันที่โคน ผล รูปกลมแป้น ผิวบาง มีเนื้อนุ่ม สีม่วงดำ
- ไม้พุ่ม รอเลื้อย หรือไม้ต้น สูงได้ถึง 7 ม. กิ่งมีช่องอากาศ หูใบมีปีกรูปไข่กลับ ยาวได้ถึง 6 ซม. ใบประกอบ 1-3 ชั้น ใบประกอบย่อยมีได้ถึง 4 คู่ แกนกลางยาว 9-70 ซม. ก้านยาว 7-34 ซม. ใบย่อยรูปไข่ แกมรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาวได้ถึง 30 ซม. ขอบจักซี่ฟัน ก้านใบยาว 0.2-2 ซม. ช่อดอกส่วนมากยาวได้ถึง 27 ซม. แผ่กว้าง ก้านช่อยาวได้ถึง 10 ซม. ดอกสีเขียวอ่อนหรืออมเหลือง ก้านดอกยาว 0.5-1.5 มม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วยยาวประมาณ 2 มม. ปลายจักตื้น ๆ กลีบดอกยาว 3-4 มม. แฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง หลอดเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันยาว 1.2-2.2 มม. โคนแยกกัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาว 1-2 มม. ผลจักเป็นพูเล็กน้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.9-1 ซม. ผลแก่สีน้ำตาลแดง
การกระจายพันธุ์ :
- มีเขตการกระจายพันธุ์ในอินเดีย เนปาล พม่า บังกลาเทศ ภูมิภาคอินโดจีน ภูมิภาคมาเลเซีย ไปจนถึงออสเตรเลียและฟิจิ ส่วนในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วทุกภาค โดยมักพบขึ้นตามป่าดิบ ป่าผลัดใบ และตามป่าเต็งรัง บนพื้นที่ตั้งแต่ระดับน้ำทะเลจนถึงที่ความสูงประมาณ 1,400 เมตร
ระบบนิเวศ :
- ขึ้นหลากหลายสภาพป่า ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร พบป่าเต็งรัง ชอบแสงแดดรำไร ใต้ร่มไม้ใหญ่ ขึ้นได้ดีในดินร่วนปนทราย