ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 เมตร ลำต้นค่อนข้างมีหนาม ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรี กว้าง 3-11 ซม. ยาว 6-25 ซม. โคนใบกลมมน ปลายใบมนหรือแหลม ขอบใบเรียบหรือหยักมนตื้นๆ หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนสั้น ดอก ออกเป็นช่อกระจุกตามกิ่งที่ไม่มีใบ สีเขียวอมเหลืองถึงน้ำตาล กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมยาว 1.7-2 มม. กลีบดอก 5 กลีบ โคนเป็นรูปช้อน ปลายกลม เกสรเพศผู้ 5 อันยอดเกสรเพศเมียจักเป็น 2 แฉก ผล ค่อนข้างกลม สีดำหรือน้ำเงินอมดำ ยาว5-8 มม. เมล็ด ค่อนข้างกลม สีน้ำตาลแดง ยาว 4-5 มม.
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ผลัดใบขนาดเล็กสูงถึง 10(20) เมตร เรือนยอดไม่แน่นอนใบ:ใบขนาด 6-26 x 3-12 เซนติเมตร ขนาดใบจะเล็กลงที่ปลายกิ่งช่อใบในแนวระนาบ ยอดอ่อนมีขนสีเทา ใบแก่ด้านบนเกลี้ยง ยกเว้นบนเส้นใบ ด้านล่างมีขนหรือเรียบเกลี้ยง เส้นใบข้างตรง และขนานกัน 16-24 คู่ เส้นใบข้างจะแยกที่ขอบใบและจรดกับเส้นใบย่อยที่ขอบใบ ก้านใบ 0.6-1.2 เซนติเมตร ไม่มีต่อม หูใบแหลม ±2 มิลลิเมตร หลุดร่วงง่าย ใบแก่สีน้ำตาลออกชมพูดอก:เส้นผ่าศูนย์กลาง ± 0.5 เซนติเมตร สีเขียวหรือเขียวออกเหลือง บางที่มีแต้มประสีส้มหรือแดงช่อดอกแน่น 8-15 ดอก เป็นช่อยาวเรียว ดอกแยกเพศ ก้านดอกอ้อนสั้น ผล:ผลขนาด 0.5-0.9 เซนติเมตร สีเขียวอ่อนสุกสีออกดำ รูปกลมหรือรูปไข่ ไม่แตก เนื้อในบาง มีโครงหุ้มเมล็ดแข็งสองอันเปลือก:เปลือก ต้นสีเทาอ่อน ผิวเรียบ เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแก่ แตกเป็นร่องยาวเมื่ออายุมากขึ้น และมักมีหนามประปรายในต้นอ่อน อื่นๆ:

ไม้ผลัดใบขนาดเล็กสูงถึง 10(20) เมตร เรือนยอดไม่แน่นอน
ใบขนาด 6-26 x 3-12 เซนติเมตร ขนาดใบจะเล็กลงที่ปลายกิ่งช่อใบในแนวระนาบ ยอดอ่อนมีขนสีเทา ใบแก่ด้านบนเกลี้ยง ยกเว้นบนเส้นใบ ด้านล่างมีขนหรือเรียบเกลี้ยง เส้นใบข้างตรง และขนานกัน 16-24 คู่ เส้นใบข้างจะแยกที่ขอบใบและจรดกับเส้นใบย่อยที่ขอบใบ ก้านใบ 0.6-1.2 เซนติเมตร ไม่มีต่อม หูใบแหลม ±2 มิลลิเมตร หลุดร่วงง่าย ใบแก่สีน้ำตาลออกชมพู
เส้นผ่าศูนย์กลาง ± 0.5 เซนติเมตร สีเขียวหรือเขียวออกเหลือง บางที่มีแต้มประสีส้มหรือแดงช่อดอกแน่น 8-15 ดอก เป็นช่อยาวเรียว ดอกแยกเพศ ก้านดอกอ้อนสั้น
ผลขนาด 0.5-0.9 เซนติเมตร สีเขียวอ่อนสุกสีออกดำ รูปกลมหรือรูปไข่ ไม่แตก เนื้อในบาง มีโครงหุ้มเมล็ดแข็งสองอัน
เปลือก ต้นสีเทาอ่อน ผิวเรียบ เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแก่ แตกเป็นร่องยาวเมื่ออายุมากขึ้น และมักมีหนามประปรายในต้นอ่อน
- ไม้ต้น
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 เมตร ลำต้นค่อนข้างมีหนาม ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรี กว้าง 3-11 ซม. ยาว 6-25 ซม. โคนใบกลมมน ปลายใบมนหรือแหลม ขอบใบเรียบหรือหยักมนตื้นๆ หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนสั้น ดอก ออกเป็นช่อกระจุกตามกิ่งที่ไม่มีใบ สีเขียวอมเหลืองถึงน้ำตาล กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมยาว 1.7-2 มม. กลีบดอก 5 กลีบ โคนเป็นรูปช้อน ปลายกลม เกสรเพศผู้ 5 อันยอดเกสรเพศเมียจักเป็น 2 แฉก ผล ค่อนข้างกลม สีดำหรือน้ำเงินอมดำ ยาว5-8 มม. เมล็ด ค่อนข้างกลม สีน้ำตาลแดง ยาว 4-5 มม.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 เมตร ลำต้นค่อนข้างมีหนาม ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรี กว้าง 3-11 ซม. ยาว 6-25 ซม. โคนใบกลมมน ปลายใบมนหรือแหลม ขอบใบเรียบหรือหยักมนตื้นๆ หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนสั้น ดอก ออกเป็นช่อกระจุกตามกิ่งที่ไม่มีใบ สีเขียวอมเหลืองถึงน้ำตาล กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมยาว 1.7-2 มม. กลีบดอก 5 กลีบ โคนเป็นรูปช้อน ปลายกลม เกสรเพศผู้ 5 อันยอดเกสรเพศเมียจักเป็น 2 แฉก ผล ค่อนข้างกลม สีดำหรือน้ำเงินอมดำ ยาว5-8 มม. เมล็ด ค่อนข้างกลม สีน้ำตาลแดง ยาว 4-5 มม.
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 เมตร ลำต้นค่อนข้างมีหนาม ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรี กว้าง 3-11 ซม. ยาว 6-25 ซม. โคนใบกลมมน ปลายใบมนหรือแหลม ขอบใบเรียบหรือหยักมนตื้นๆ หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนสั้น ดอก ออกเป็นช่อกระจุกตามกิ่งที่ไม่มีใบ สีเขียวอมเหลืองถึงน้ำตาล กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมยาว 1.7-2 มม. กลีบดอก 5 กลีบ โคนเป็นรูปช้อน ปลายกลม เกสรเพศผู้ 5 อันยอดเกสรเพศเมียจักเป็น 2 แฉก ผล ค่อนข้างกลม สีดำหรือน้ำเงินอมดำ ยาว5-8 มม. เมล็ด ค่อนข้างกลม สีน้ำตาลแดง ยาว 4-5 มม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบกระจายตั้งแต่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ เมียนม่าห์ อินโดจีน จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทย พบทุกภาค ตามป่าผลัดใบ และป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 50-600 เมตร
- ในประเทศไทย พบทุกภาค ตามป่าผลัดใบและป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 50-600 ม.
การกระจายพันธุ์ : อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า อินโดจีนจนถึงอินโดนีเซีย
- พบกระจายตั้งแต่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ เมียนม่าห์ อินโดจีน จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทย พบทุกภาค ตามป่าผลัดใบ และป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 50-600 เมตร
- พบกระจายตั้งแต่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ เมียนม่าห์ อินโดจีน จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทย พบทุกภาค ตามป่าผลัดใบ และป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 50-600 เมตร
- พบกระจายตั้งแต่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ เมียนม่าห์ อินโดจีน จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทย พบทุกภาค ตามป่าผลัดใบ และป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 50-600 เมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขากระยาง ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสวนกวาง ป่าสงวนแห่งชาติป่าประดางและป่าวังก์เจ้า ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
- อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
- อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- แพร่,น่าน
- พะเยา,น่าน
- เชียงใหม่
- พิษณุโลก
- อุตรดิตถ์
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- เชียงราย
- เพชรบูรณ์
- ระยอง
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- กำแพงเพชร
- ลำปาง
- ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำปาง, ลำพูน
- ลำปาง, ลำพูน
- พะเยา
- พะเยา
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- มุกดาหาร
- มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
- เลย
- เลย
- เชียงราย, พะเยา
- เชียงราย, พะเยา
- ลำปาง, ตาก
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- ตาก
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- น่าน
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- กาญจนบุรี
- กำแพงเพชร
- กำแพงเพชร
- กำแพงเพชร
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- แพร่
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เลย
- เพชรบูรณ์
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- พะเยา
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- เชียงใหม่
- กาญจนบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- เชียงใหม่
- ตาก
- ตาก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Nong Bua Lam Phu
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ