ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงตรงข้าม ใบย่อยรูปไข่กลับแกมวงรี หรือรูปใบหอกกลับ ดอกช่อออกที่ซอกใบ สีม่วงอ่อนมีขนละเอียด ผลสดรูปไข่หรือรูปไข่กลับ เมื่อสุกมีสีม่วงดำ
การกระจายพันธุ์ :
- พบได้ตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ลำปาง, ลำพูน
- กาญจนบุรี
- นครศรีธรรมราช
- นครศรีธรรมราช
- นครศรีธรรมราช
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- จันทบุรี
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- พังงา
- สุโขทัย, ลำปาง
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- บึงกาฬ
- บึงกาฬ
- พะเยา
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ยะลา, นราธิวาส
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
ข้อมูลภูมิปัญญา
- “ไข่เน่า” ที่ไม่ได้แปลว่าไข่เน่า แต่เป็นไม้ต้นชื่อไข่เน่า :: ไข่เน่า แค่ได้ชื่อกลิ่นก็มา แต่ไข่เน่าที่ BEDO จะเสนอในวันนี้เป็นไข่เน่าที่เป็นชื่อของไม้ต้น ที่มีการนำมาใช้ประโยชน์โดย “หมอยา” มาตั้งแต่สมัยอดีต และยังเป็นที่มาของ “ขนมไข่เน่า” อีกด้วยไข่เน่า (Vitex glabrata R.Br.) อยู่ในวงศ์ LAMIACEAE ชื่อเรียกอื่น ๆ : คมขวาน, โคกฝรั่ง, ไข่เน่า (ภาคกลาง) ; ขี้เห็น (อุบลราชธานี-เลย) ; ปลู (สุรินทร์-เขมร)กฎหมายที่เกี่ยวข้อง : พระราชกฤษฎีกา กำหนดไม้หวงห้าม พ.ศ. 2530 ประเภท ก. ไม้หวงห้ามธรรมดา• นิเวศวิทยา : พบได้ตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบทั่วไป• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : - ลำต้น : ลำต้นสีหม่นและมีด่างเป็นดวงขาว ๆ หรือสีน้ำตาล- เนื้อไม้ : สีกระพี้ไม้เป็นสีครีม สีแก่นไม้