ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ กลีบเลี้ยง และรังไข่ ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ ยาว 8-16 ซม. โคนเบี้ยว ขอบจักซี่ฟัน ก้านใบยาว 0.6-1.2 ซม. ดอกสีเขียว ออกเดี่ยว ๆ หรือ เป็นกระจุกตามซอกใบ ใบประดับขนาดเล็กมีหลายใบ ก้านดอกยาว 5-8 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม ยาว 2-3 มม. ไม่มีกลีบดอกเกสรเพศผู้ 8-10 อัน ติดบนขอบจานฐานดอกรูปถ้วย ขอบจักเป็นพู รังไข่มีช่องเดียว พลาเซนตา ตามแนวตะเข็บ 2-4 แนว ก้านเกสรเพศเมียสั้น ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 2.5-3.5 ซม. มี 3 ซีก เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีส้มแดง จักชายครุย พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบชื้น หรือเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ กลีบเลี้ยง และรังไข่ ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ ยาว 8-16 ซม. โคนเบี้ยว ขอบจักซี่ฟัน ก้านใบยาว 0.6-1.2 ซม. ดอกสีเขียว ออกเดี่ยว ๆ หรือ เป็นกระจุกตามซอกใบ ใบประดับขนาดเล็กมีหลายใบ ก้านดอกยาว 5-8 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม ยาว 2-3 มม. ไม่มีกลีบดอกเกสรเพศผู้ 8-10 อัน ติดบนขอบจานฐานดอกรูปถ้วย ขอบจักเป็นพู รังไข่มีช่องเดียว พลาเซนตา ตามแนวตะเข็บ 2-4 แนว ก้านเกสรเพศเมียสั้น ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 2.5-3.5 ซม. มี 3 ซีก เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีส้มแดง จักชายครุย พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบชื้น หรือเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
การขยายพันธุ์ :
-
1. การตอนกิ่ง
2. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะเมล็ด
-
1. การตอนกิ่ง
2. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ระยอง
-
ชลบุรี
-
นนทบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา