ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ขนาดเล็ก สูงได้ถึง 6 ม. เปลือกแตกเป็นร่องละเอียดตามยาว ยอดอ่อนสีส้มแดง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ ขนาดกว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนและปลายใบมน ขอบใบเรียบ มักมีติ่งที่ปลายใบ เส้นใบด้านล่างนูนชัดเจน ดอกสีขาว ออกเป็นช่อ ดอกย่อยรูประฆัง ยาว 3 มม. กลีบรองดอกเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ โคนเชื่อมกัน 2ใน 3 ปลายแยกเป็น 5 แฉกรูปสามเหลี่ยม เกสรผู้ 10 อัน สีน้ำตาลเข้ม ก้านเกสรเป็นแผ่นยาว ส่วนบนพับงอ ผลกลม มี 5 พู เมื่อแก่แตก เมล็ดมีปีกสีน้ำตาล
-
ไม้ขนาดเล็ก สูงได้ถึง 6 ม. เปลือกแตกเป็นร่องละเอียดตามยาว ยอดอ่อนสีส้มแดง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ ขนาดกว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนและปลายใบมน ขอบใบเรียบ มักมีติ่งที่ปลายใบ เส้นใบด้านล่างนูนชัดเจน ดอกสีขาว ออกเป็นช่อ ดอกย่อยรูประฆัง ยาว 3 มม. กลีบรองดอกเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ โคนเชื่อมกัน 2ใน 3 ปลายแยกเป็น 5 แฉกรูปสามเหลี่ยม เกสรผู้ 10 อัน สีน้ำตาลเข้ม ก้านเกสรเป็นแผ่นยาว ส่วนบนพับงอ ผลกลม มี 5 พู เมื่อแก่แตก เมล็ดมีปีกสีน้ำตาล
-
ไม้ขนาดเล็ก สูงได้ถึง 6 ม. เปลือกแตกเป็นร่องละเอียดตามยาว ยอดอ่อนสีส้มแดง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ ขนาดกว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนและปลายใบมน ขอบใบเรียบ มักมีติ่งที่ปลายใบ เส้นใบด้านล่างนูนชัดเจน ดอกสีขาว ออกเป็นช่อ ดอกย่อยรูประฆัง ยาว 3 มม. กลีบรองดอกเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ โคนเชื่อมกัน 2ใน 3 ปลายแยกเป็น 5 แฉกรูปสามเหลี่ยม เกสรผู้ 10 อัน สีน้ำตาลเข้ม ก้านเกสรเป็นแผ่นยาว ส่วนบนพับงอ ผลกลม มี 5 พู เมื่อแก่แตก เมล็ดมีปีกสีน้ำตาล
-
ไม้ขนาดเล็ก สูงได้ถึง 6 ม. เปลือกแตกเป็นร่องละเอียดตามยาว ยอดอ่อนสีส้มแดง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ ขนาดกว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนและปลายใบมน ขอบใบเรียบ มักมีติ่งที่ปลายใบ เส้นใบด้านล่างนูนชัดเจน ดอกสีขาว ออกเป็นช่อ ดอกย่อยรูประฆัง ยาว 3 มม. กลีบรองดอกเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ โคนเชื่อมกัน 2ใน 3 ปลายแยกเป็น 5 แฉกรูปสามเหลี่ยม เกสรผู้ 10 อัน สีน้ำตาลเข้ม ก้านเกสรเป็นแผ่นยาว ส่วนบนพับงอ ผลกลม มี 5 พู เมื่อแก่แตก เมล็ดมีปีกสีน้ำตาล
การกระจายพันธุ์ :
-
ขึ้นกระจายในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ ที่ระดับความสูง 800-1,200 ม.
-
ขึ้นกระจายในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ ที่ระดับความสูง 800-1,200 ม.
-
ขึ้นกระจายในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ ที่ระดับความสูง 800-1,200 ม.
-
ขึ้นกระจายในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ ที่ระดับความสูง 800-1,200 ม.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แพร่,น่าน
-
พะเยา, เชียงราย
-
แม่ฮ่องสอน
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เลย
-
ลำพูน, เชียงใหม่
-
เชียงราย, พะเยา
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
กำแพงเพชร
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ตะไคร้
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช