ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูง 3-6 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่ กว้าง 2-7 ซม. ยาว 5-14 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย มีเส้นใบ 3-5 เส้น ก้านใบยาว 4 ซม. ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก ออกเดี่ยวหรือเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกแยกเพศอยู่บนต้นเดียวกันหรือต่างต้น ดอกเพศผู้มีกลีบดอก 4-6 กลีบ เกสรผู้มีจำนวนมาก ดอกเพศเมียไม่มีกลีบดอกหรือถ้ามีขนาดเล็กมาก ผลรูปป้อมแกมสามเหลี่ยม กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 2 ซม. เมื่อแห้งแตก เมล็ดรูปขอบขนาน สีน้ำตาลอ่อน ขนาด 0.6-1 ซม.
-
ไม้พุ่ม สูง 3-6 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่ กว้าง 2-7 ซม. ยาว 5-14 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย มีเส้นใบ 3-5 เส้น ก้านใบยาว 4 ซม. ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก ออกเดี่ยวหรือเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกแยกเพศอยู่บนต้นเดียวกันหรือต่างต้น ดอกเพศผู้มีกลีบดอก 4-6 กลีบ เกสรผู้มีจำนวนมาก ดอกเพศเมียไม่มีกลีบดอกหรือถ้ามีขนาดเล็กมาก ผลรูปป้อมแกมสามเหลี่ยม กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 2 ซม. เมื่อแห้งแตก เมล็ดรูปขอบขนาน สีน้ำตาลอ่อน ขนาด 0.6-1 ซม.
-
ไม้พุ่ม สูง 3-6 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่ กว้าง 2-7 ซม. ยาว 5-14 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย มีเส้นใบ 3-5 เส้น ก้านใบยาว 4 ซม. ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก ออกเดี่ยวหรือเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกแยกเพศอยู่บนต้นเดียวกันหรือต่างต้น ดอกเพศผู้มีกลีบดอก 4-6 กลีบ เกสรผู้มีจำนวนมาก ดอกเพศเมียไม่มีกลีบดอกหรือถ้ามีขนาดเล็กมาก ผลรูปป้อมแกมสามเหลี่ยม กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 2 ซม. เมื่อแห้งแตก เมล็ดรูปขอบขนาน สีน้ำตาลอ่อน ขนาด 0.6-1 ซม.
-
ไม้พุ่ม สูง 3-6 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่ กว้าง 2-7 ซม. ยาว 5-14 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย มีเส้นใบ 3-5 เส้น ก้านใบยาว 4 ซม. ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก ออกเดี่ยวหรือเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกแยกเพศอยู่บนต้นเดียวกันหรือต่างต้น ดอกเพศผู้มีกลีบดอก 4-6 กลีบ เกสรผู้มีจำนวนมาก ดอกเพศเมียไม่มีกลีบดอกหรือถ้ามีขนาดเล็กมาก ผลรูปป้อมแกมสามเหลี่ยม กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 2 ซม. เมื่อแห้งแตก เมล็ดรูปขอบขนาน สีน้ำตาลอ่อน ขนาด 0.6-1 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบทั่วไปในเขตร้อน จากอินเดีย ศรีลังกา จีนและมาเลเซีย ที่ระดับความสูง 600 ม. ขึ้นไป ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
-
พบทั่วไปในเขตร้อน จากอินเดีย ศรีลังกา จีนและมาเลเซีย ที่ระดับความสูง 600 ม. ขึ้นไป ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
-
พบทั่วไปในเขตร้อน จากอินเดีย ศรีลังกา จีนและมาเลเซีย ที่ระดับความสูง 600 ม. ขึ้นไป ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
-
พบทั่วไปในเขตร้อน จากอินเดีย ศรีลังกา จีนและมาเลเซีย ที่ระดับความสูง 600 ม. ขึ้นไป ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ที่มาของข้อมูล