ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่ม สูง 1-4 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีถึงไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบมนหรือเป็นติ่งมน เส้นใบเห็นไม่ชัดเจน ดอกสีชมพูอ่อน ออกเป็นช่อคล้ายร่ม กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ เกสรผู้ 5 อัน ล้อมรังไข่ไว้ภายใน ผลเป็นผลสด ค่อนข้างกลม ขนาด 5-6 มม. สีเทาเข้มถึงดำ เรียงชิดกัน
- ไม้พุ่ม แตกกิ่งต่ำ สูง 1-4 ม. บางครั้งอาจสูงถึง 10 ม. ลำต้นและกิ่งเรียบเกลี้ยง สีน้ำตาลอมเทา กิ่งอ่อนมนกลมหรือเหลี่ยมเล็กน้อย สีแดงอมน้ำตาล
ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ แผ่นใบรูปรี รูปใบหอกกลับถึงรูปไข่กลับ ขนาด 3-5.5x6-14 ซม. โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ มีจุดเล็กๆ สีเขียวอ่อนแล้วเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อใบแก่ ปลายใบกลม ทื่อถึงแหลม ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน มีจุดโปร่งแสงสีเขียวคล้ำกระจายทั่วแผ่นใบ ด้านบนสีเขียวคล้ำ ด้านล่างสีเขียวนวล เนื้อใบคล้ายแผ่นหนัง นุ่ม อวบน้ำ ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. เส้นใบแบบร่างแหขนนก เส้นกลางใบยกตัว เส้นแขนง 12-14 คู่ เส้นใบย่อยสานกันเป็นร่างแห มองไม่เห็นชัดเจน
ดอก แบบช่อเชิงลดรูปพัดคล้ายช่อซี่ร่ม ออกตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง แต่ละช่อมี 5-8 ดอก ก้านช่อดอกยาว 1.5-2.5 ซม. ก้านดอกย่อยเรียวยาว 1-1.5 ซม. ดอกตูมรูปทรงกรวยยาว 0.5-0.7 ซม. ดอกบานรูปกงล้อสีชมพู กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉกรูปไข่กว้างถึงรูปมนกลม 5 แฉก เรียงบิดเวียน ฐานวงกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้นๆ มีต่อมเล็กๆ หนาแน่น กลีบดอกแหลม 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 อัน อับเรณูรูปใบหอก ออกดอกระหว่างเดือน พฤษภาคม-กันยายน
ผล เป็นผลเมล็ดเดียวแข็ง รูปกลมแป้น ด้านแนวนอนยาวกว่าแนวตั้ง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.6-0.8 ซม. ปลายผลมีติ่งแหลมสั้น เนื้อผลนุ่ม ผลสีแดงเรื่อก่อนจะเปลี่ยนเป็นสีดำเมื่อสุก มี 1 เมล็ด ออกผลระหว่างเดือน พฤษภาคม-กันยายน
- ไม้พุ่ม สูง 1-4 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีถึงไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบมนหรือเป็นติ่งมน เส้นใบเห็นไม่ชัดเจน ดอกสีชมพูอ่อน ออกเป็นช่อคล้ายร่ม กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ เกสรผู้ 5 อัน ล้อมรังไข่ไว้ภายใน ผลเป็นผลสด ค่อนข้างกลม ขนาด 5-6 มม. สีเทาเข้มถึงดำ เรียงชิดกัน
- ไม้พุ่ม สูง 1-4 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีถึงไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบมนหรือเป็นติ่งมน เส้นใบเห็นไม่ชัดเจน ดอกสีชมพูอ่อน ออกเป็นช่อคล้ายร่ม กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ เกสรผู้ 5 อัน ล้อมรังไข่ไว้ภายใน ผลเป็นผลสด ค่อนข้างกลม ขนาด 5-6 มม. สีเทาเข้มถึงดำ เรียงชิดกัน
- ไม้พุ่ม สูง 1-4 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีถึงไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบมนหรือเป็นติ่งมน เส้นใบเห็นไม่ชัดเจน ดอกสีชมพูอ่อน ออกเป็นช่อคล้ายร่ม กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ เกสรผู้ 5 อัน ล้อมรังไข่ไว้ภายใน ผลเป็นผลสด ค่อนข้างกลม ขนาด 5-6 มม. สีเทาเข้มถึงดำ เรียงชิดกัน
การกระจายพันธุ์ :
- จากอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินโดนีเซีย ประเทศไทยพบทางภาคใต้ ตามป่าชายหาดและบริเวณหลังป่าชายเลนหรือป่าดิบบนภูเขาหินทราย ที่ระดับความสูงไม่เกิน 500 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
- บริเวณตอนใต้ของประเทศอินเดีย ศรีลังกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- จากอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินโดนีเซีย ประเทศไทยพบทางภาคใต้ ตามป่าชายหาดและบริเวณหลังป่าชายเลนหรือป่าดิบบนภูเขาหินทราย ที่ระดับความสูงไม่เกิน 500 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
- จากอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินโดนีเซีย ประเทศไทยพบทางภาคใต้ ตามป่าชายหาดและบริเวณหลังป่าชายเลนหรือป่าดิบบนภูเขาหินทราย ที่ระดับความสูงไม่เกิน 500 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
- จากอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินโดนีเซีย ประเทศไทยพบทางภาคใต้ ตามป่าชายหาดและบริเวณหลังป่าชายเลนหรือป่าดิบบนภูเขาหินทราย ที่ระดับความสูงไม่เกิน 500 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ เขานัน
- อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
- อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้พุ่ม (Shrub)
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- จันทบุรี
- นครศรีธรรมราช
- พังงา
- นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
- นครศรีธรรมราช
- ชลบุรี
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- กระบี่, ตรัง
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- จันทบุรี
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- นราธิวาส
- สตูล, สงขลา
- พังงา
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ยะลา, นราธิวาส
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง