ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
- เป็นผลไม้ยืนต้นขนาดกลาง ต้นเป็นทรงพุ่ม ผลมีลักษณะกลมเล็ก ผิวเปลือกบาง มีสีเหลืองอมครีม เนื้อเป็นพูเล็ก เนื้อฟูนุ่มฉ่ำน้ำ มีสีขาวขุ่นหรือสีชมพู ตามสายพันธ์ุ มีรสชาติเปรี้ยวอมหวาน มีกลิ่นหอม มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย เป็นผลไม้พื้นเมืองของอินโดนีเชีย ในประเทศไทยจะปลูกกันมาก ในภาคใต้และภาคตะวันออก พันธุ์ที่ปลูกในประเทศไทยมีหลายสายพันธุ์ มีคุณประโยชน์และสรรพคุณ ทางยาหลายอย่าง ใช้นำมาเป็นผลไม้รับประทาน ใช้ทำเป็นเครื่องดื่มต่างๆได้
- เป็นผลไม้ยืนต้นขนาดกลาง ต้นเป็นทรงพุ่ม ผลมีลักษณะกลมเล็ก ผิวเปลือกบาง มีสีเหลืองอมครีม เนื้อเป็นพูเล็ก เนื้อฟูนุ่มฉ่ำน้ำ มีสีขาวขุ่นหรือสีชมพู ตามสายพันธ์ุ มีรสชาติเปรี้ยวอมหวาน มีกลิ่นหอม มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย เป็นผลไม้พื้นเมืองของอินโดนีเชีย ในประเทศไทยจะปลูกกันมาก ในภาคใต้และภาคตะวันออก พันธุ์ที่ปลูกในประเทศไทยมีหลายสายพันธุ์ มีคุณประโยชน์และสรรพคุณ ทางยาหลายอย่าง ใช้นำมาเป็นผลไม้รับประทาน ใช้ทำเป็นเครื่องดื่มต่างๆได้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 7-25 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม เส้นแขนงใบข้างละ 4-9 เส้น ก้านใบยาว 1-6 ซม. ช่อดอกออกเป็นกระจุกหลายช่อ ยาว 8-15 ซม. ช่อดอกเพศเมียยาวไม่เกิน 10 ซม. ดอกสีเหลือง ใบประดับยาว 3-4.5 มม. ไม่มีใบประดับย่อย ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 1-2.5 มม. กลีบเลี้ยง ยาว 1-2.5 มม. ดอกเพศเมียก้านดอกและกลีบเลี้ยงยาวกว่าเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 5-8 อัน ไร้ก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรยาวประมาณ 0.5 มม. เรียบ ผลกลมหรือรูปไข่ ปลายมีติ่งแหลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.8 ซม. สุกสีเหลือง เมล็ดยาว 1-1.5 ซม. เยื่อหุ้มสีขาวหรืออมเหลือง
- ไม้ต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 10-15 เมตร ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับกัน รูปรีแกมหอก โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ หรือหยักตื้นๆ ปลายใบเรียวแหลม กว้าง 5-8 ซม. ยาว 10-22 ซม. เส้นแขนงใบมี 5-8 คู่ ด้านล่างนูน เนื้อใบค่อนข้างบางเกลี้ยง ก้านใบยาว 5-7.5 ซม. ดอก ออกเป็นช่อ กลีบรองกลีบดอกมี 4-5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน เกสรผู้มี 4-8 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นช่อยาวมาก ใบประดับขนาดเล็กอยู่ที่โคนก้านดอก กลีบรองกลีบดอกรูปขอบขนานแคบๆ ยาวประมาณ 1.2 ซม. รังไข่มีขน ผล ค่อนข้างกลมหรือรี วัดผ่าศูนย์กลางประมาณ 1-1.5 ซม. สีผิวเหลืองถึงแดง ผิวเกลี้ยง มี 1-3 เมล็ด เนื้อหุ้มเมล็ดสีขาวขุ่น รสเปรี้ยวอมหวาน
- ไม้ต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 10-15 เมตร ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับกัน รูปรีแกมหอก โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ หรือหยักตื้นๆ ปลายใบเรียวแหลม กว้าง 5-8 ซม. ยาว 10-22 ซม. เส้นแขนงใบมี 5-8 คู่ ด้านล่างนูน เนื้อใบค่อนข้างบางเกลี้ยง ก้านใบยาว 5-7.5 ซม. ดอก ออกเป็นช่อ กลีบรองกลีบดอกมี 4-5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน เกสรผู้มี 4-8 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นช่อยาวมาก ใบประดับขนาดเล็กอยู่ที่โคนก้านดอก กลีบรองกลีบดอกรูปขอบขนานแคบๆ ยาวประมาณ 1.2 ซม. รังไข่มีขน ผล ค่อนข้างกลมหรือรี วัดผ่าศูนย์กลางประมาณ 1-1.5 ซม. สีผิวเหลืองถึงแดง ผิวเกลี้ยง มี 1-3 เมล็ด เนื้อหุ้มเมล็ดสีขาวขุ่น รสเปรี้ยวอมหวาน
- ไม้ต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 10-15 เมตร ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับกัน รูปรีแกมหอก โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ หรือหยักตื้นๆ ปลายใบเรียวแหลม กว้าง 5-8 ซม. ยาว 10-22 ซม. เส้นแขนงใบมี 5-8 คู่ ด้านล่างนูน เนื้อใบค่อนข้างบางเกลี้ยง ก้านใบยาว 5-7.5 ซม. ดอก ออกเป็นช่อ กลีบรองกลีบดอกมี 4-5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน เกสรผู้มี 4-8 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นช่อยาวมาก ใบประดับขนาดเล็กอยู่ที่โคนก้านดอก กลีบรองกลีบดอกรูปขอบขนานแคบๆ ยาวประมาณ 1.2 ซม. รังไข่มีขน ผล ค่อนข้างกลมหรือรี วัดผ่าศูนย์กลางประมาณ 1-1.5 ซม. สีผิวเหลืองถึงแดง ผิวเกลี้ยง มี 1-3 เมล็ด เนื้อหุ้มเมล็ดสีขาวขุ่น รสเปรี้ยวอมหวาน
- ไม้ต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 10-15 เมตร ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับกัน รูปรีแกมหอก โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ หรือหยักตื้นๆ ปลายใบเรียวแหลม กว้าง 5-8 ซม. ยาว 10-22 ซม. เส้นแขนงใบมี 5-8 คู่ ด้านล่างนูน เนื้อใบค่อนข้างบางเกลี้ยง ก้านใบยาว 5-7.5 ซม. ดอก ออกเป็นช่อ กลีบรองกลีบดอกมี 4-5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน เกสรผู้มี 4-8 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นช่อยาวมาก ใบประดับขนาดเล็กอยู่ที่โคนก้านดอก กลีบรองกลีบดอกรูปขอบขนานแคบๆ ยาวประมาณ 1.2 ซม. รังไข่มีขน ผล ค่อนข้างกลมหรือรี วัดผ่าศูนย์กลางประมาณ 1-1.5 ซม. สีผิวเหลืองถึงแดง ผิวเกลี้ยง มี 1-3 เมล็ด เนื้อหุ้มเมล็ดสีขาวขุ่น รสเปรี้ยวอมหวาน
ระบบนิเวศ :
- ขึ้นตามป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1700 เมตร 
การกระจายพันธุ์ :
- ขึ้นในป่าดงดิบใกล้ลำธาร หรือที่ชื้นในป่าผลัดใบ ออกดอกประมาณเดือนมีนาคม
- ขึ้นในป่าดงดิบใกล้ลำธาร หรือที่ชื้นในป่าผลัดใบ ออกดอกประมาณเดือนมีนาคม
- ขึ้นในป่าดงดิบใกล้ลำธาร หรือที่ชื้นในป่าผลัดใบ ออกดอกประมาณเดือนมีนาคม
- ขึ้นในป่าดงดิบใกล้ลำธาร หรือที่ชื้นในป่าผลัดใบ ออกดอกประมาณเดือนมีนาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ เขานัน
- อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
- อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ทะเลบัน
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกทรายขาว
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกทรายขาว
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพลิ้ว
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
- อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- นครราชสีมา
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- จันทบุรี
- นครศรีธรรมราช
- พัทลุง
- จันทบุรี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- กำแพงเพชร
- กำแพงเพชร, ตาก
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- พะเยา
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- สตูล
- ชัยภูมิ
- สตูล
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- ปัตตานี
- ปัตตานี
- จันทบุรี
- นครศรีธรรมราช
- นครศรีธรรมราช
- สระบุรี
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- สงขลา
- นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
- ชลบุรี
- ชลบุรี
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- กระบี่, ตรัง
- กำแพงเพชร
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- ชุมพร, ระนอง
- ชุมพร, ระนอง
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สตูล, สงขลา
- สตูล, สงขลา
- พังงา
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- ระนอง, ชุมพร
- ระนอง, ชุมพร
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- บึงกาฬ
- บึงกาฬ
- กาฬสินธุ์
- ตาก
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ชุมพร
- ชุมพร
- เชียงใหม่
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ชุมพร
- ชุมพร
- ตาก
- ตาก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
การขยายพันธุ์ :
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
3. การเสียบกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
3. การเสียบกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร,ผล รับประทานได้ เนื้อไม้ใช้ทำเครื่องเรือน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล