ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้เลื้อย ลำต้นมีขน ใบเดี่ยว รูปหัวใจ ยาว 3-6 ซม. กว้าง 5-7 ซม. ฐานใบเว้า ขอบใบเรียบ ผิวใบมีขนนุ่ม ก้านใบ ยาว 2-4 ซม. มีขนสั้นหนานุ่ม ช่อดอก ออกที่ชอกใบหรือปลายยอด แบบช่อกระจุก จำนวน 2-5 ดอก มีใบประดับรองรับ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่หรือใบหอก กลีบดอก เชื่อมกันรูประฆัง ด้านนอกสีขาวด้านในสีม่วง เกสรเพศผู้ มี 5 อัน อับเรณูรูปสามเหลี่ยม ก้านเกสรเพศเมีย เป็นแท่ง บริเวณฐานมีขน รังไข่ อยู่เหนือวงกลีบ ยอดเกสรเพศเมีย เป็นก้อน 3 ก้อน
- ไม้เลื้อย ลำต้นมีขน ใบเดี่ยว รูปหัวใจ ยาว 3-6 ซม. กว้าง 5-7 ซม. ฐานใบเว้า ขอบใบเรียบ ผิวใบมีขนนุ่ม ก้านใบ ยาว 2-4 ซม. มีขนสั้นหนานุ่ม ช่อดอก ออกที่ชอกใบหรือปลายยอด แบบช่อกระจุก จำนวน 2-5 ดอก มีใบประดับรองรับ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่หรือใบหอก กลีบดอก เชื่อมกันรูประฆัง ด้านนอกสีขาวด้านในสีม่วง เกสรเพศผู้ มี 5 อัน อับเรณูรูปสามเหลี่ยม ก้านเกสรเพศเมีย เป็นแท่ง บริเวณฐานมีขน รังไข่ อยู่เหนือวงกลีบ ยอดเกสรเพศเมีย เป็นก้อน 3 ก้อน
- ไม้เลื้อย ลำต้นมีขน ใบเดี่ยว รูปหัวใจ ยาว 3-6 ซม. กว้าง 5-7 ซม. ฐานใบเว้า ขอบใบเรียบ ผิวใบมีขนนุ่ม ก้านใบ ยาว 2-4 ซม. มีขนสั้นหนานุ่ม ช่อดอก ออกที่ชอกใบหรือปลายยอด แบบช่อกระจุก จำนวน 2-5 ดอก มีใบประดับรองรับ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่หรือใบหอก กลีบดอก เชื่อมกันรูประฆัง ด้านนอกสีขาวด้านในสีม่วง เกสรเพศผู้ มี 5 อัน อับเรณูรูปสามเหลี่ยม ก้านเกสรเพศเมีย เป็นแท่ง บริเวณฐานมีขน รังไข่ อยู่เหนือวงกลีบ ยอดเกสรเพศเมีย เป็นก้อน 3 ก้อน
- ไม้เลื้อย ลำต้นมีขน ใบเดี่ยว รูปหัวใจ ยาว 3-6 ซม. กว้าง 5-7 ซม. ฐานใบเว้า ขอบใบเรียบ ผิวใบมีขนนุ่ม ก้านใบ ยาว 2-4 ซม. มีขนสั้นหนานุ่ม ช่อดอก ออกที่ชอกใบหรือปลายยอด แบบช่อกระจุก จำนวน 2-5 ดอก มีใบประดับรองรับ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่หรือใบหอก กลีบดอก เชื่อมกันรูประฆัง ด้านนอกสีขาวด้านในสีม่วง เกสรเพศผู้ มี 5 อัน อับเรณูรูปสามเหลี่ยม ก้านเกสรเพศเมีย เป็นแท่ง บริเวณฐานมีขน รังไข่ อยู่เหนือวงกลีบ ยอดเกสรเพศเมีย เป็นก้อน 3 ก้อน
การกระจายพันธุ์ :
- อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีน(เกาะไหหลำ) ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ พบตามป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา ระดับความสูง 200-1400 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ กันยายน พฤศจิกายน และธันวาคม ติดผลเดือนกุมภาพันธ์ และธันวาคม
- อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีน(เกาะไหหลำ) ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ พบตามป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา ระดับความสูง 200-1400 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ กันยายน พฤศจิกายน และธันวาคม ติดผลเดือนกุมภาพันธ์ และธันวาคม
- อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีน(เกาะไหหลำ) ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ พบตามป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา ระดับความสูง 200-1400 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ กันยายน พฤศจิกายน และธันวาคม ติดผลเดือนกุมภาพันธ์ และธันวาคม
- อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีน(เกาะไหหลำ) ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ พบตามป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา ระดับความสูง 200-1400 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ กันยายน พฤศจิกายน และธันวาคม ติดผลเดือนกุมภาพันธ์ และธันวาคม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้เลื้อย/ไม้เถา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุบลราชธานี
- หนองคาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ผาแต้ม
- ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย