ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 8-15 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลม กิ่งอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป เปลือกนอกสีดำ แตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ตามยาว ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือแกมขอบขนาน กว้าง 1.5-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนใบมนหรือกลม ส่วนปลายใบสอบ ใบแก่เกลี้ยง ก้านใบยาว 5-10 มม. เมื่อแห้งเป็นสีดำ ดอกต่างเพศอยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อสั้นๆ ตามง่ามใบ ช่อหนึ่งๆ มีประมาณ 3 ดอก ดอกย่อย กลีบรองดอกโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 4 แฉก กลีบดอกยาว 6-8 ซม. โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปเหยือกน้ำ ปลายแยกเป็น 4 แฉก เกสรผู้ 14-24 อัน ดอกเพศเมีย ออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ก้านดอกยาว 1-3 มม. มีขนนุ่มปกคลุม เกสรผู้เทียม 8-10 อัน ผลกลม เกลี้ยง ขนาดผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. มีกลีบรองดอกติดอยู่ที่ขั้วผล 4 กลีบ ผลแก่จัดสีดำ เมื่อแห้งเปลือกเปราะ
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 8-15 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลม กิ่งอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป เปลือกนอกสีดำ แตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ตามยาว ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือแกมขอบขนาน กว้าง 1.5-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนใบมนหรือกลม ส่วนปลายใบสอบ ใบแก่เกลี้ยง ก้านใบยาว 5-10 มม. เมื่อแห้งเป็นสีดำ ดอกต่างเพศอยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อสั้นๆ ตามง่ามใบ ช่อหนึ่งๆ มีประมาณ 3 ดอก ดอกย่อย กลีบรองดอกโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 4 แฉก กลีบดอกยาว 6-8 ซม. โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปเหยือกน้ำ ปลายแยกเป็น 4 แฉก เกสรผู้ 14-24 อัน ดอกเพศเมีย ออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ก้านดอกยาว 1-3 มม. มีขนนุ่มปกคลุม เกสรผู้เทียม 8-10 อัน ผลกลม เกลี้ยง ขนาดผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. มีกลีบรองดอกติดอยู่ที่ขั้วผล 4 กลีบ ผลแก่จัดสีดำ เมื่อแห้งเปลือกเปราะ
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 8-15 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลม กิ่งอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป เปลือกนอกสีดำ แตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ตามยาว ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือแกมขอบขนาน กว้าง 1.5-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนใบมนหรือกลม ส่วนปลายใบสอบ ใบแก่เกลี้ยง ก้านใบยาว 5-10 มม. เมื่อแห้งเป็นสีดำ ดอกต่างเพศอยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อสั้นๆ ตามง่ามใบ ช่อหนึ่งๆ มีประมาณ 3 ดอก ดอกย่อย กลีบรองดอกโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 4 แฉก กลีบดอกยาว 6-8 ซม. โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปเหยือกน้ำ ปลายแยกเป็น 4 แฉก เกสรผู้ 14-24 อัน ดอกเพศเมีย ออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ก้านดอกยาว 1-3 มม. มีขนนุ่มปกคลุม เกสรผู้เทียม 8-10 อัน ผลกลม เกลี้ยง ขนาดผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. มีกลีบรองดอกติดอยู่ที่ขั้วผล 4 กลีบ ผลแก่จัดสีดำ เมื่อแห้งเปลือกเปราะ
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 8-15 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลม กิ่งอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป เปลือกนอกสีดำ แตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ตามยาว ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือแกมขอบขนาน กว้าง 1.5-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนใบมนหรือกลม ส่วนปลายใบสอบ ใบแก่เกลี้ยง ก้านใบยาว 5-10 มม. เมื่อแห้งเป็นสีดำ ดอกต่างเพศอยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อสั้นๆ ตามง่ามใบ ช่อหนึ่งๆ มีประมาณ 3 ดอก ดอกย่อย กลีบรองดอกโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 4 แฉก กลีบดอกยาว 6-8 ซม. โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปเหยือกน้ำ ปลายแยกเป็น 4 แฉก เกสรผู้ 14-24 อัน ดอกเพศเมีย ออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ก้านดอกยาว 1-3 มม. มีขนนุ่มปกคลุม เกสรผู้เทียม 8-10 อัน ผลกลม เกลี้ยง ขนาดผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. มีกลีบรองดอกติดอยู่ที่ขั้วผล 4 กลีบ ผลแก่จัดสีดำ เมื่อแห้งเปลือกเปราะ
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 10-30 เมตร มีเรือนยอดเป็นพุ่ม ลำต้นเปลา ที่โคนต้นมักขึ้นเป็นพูพอน ที่ผิวเปลือกเป็นรอยแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ตามยาวสีดำ เปลือกด้านในมีสีเหลือง ส่วนกระพี้มีสีขาว แก่นมีสีดำสนิท เนื้อมีความละเอียดเป็นมันสวยงาม ที่กิ่งอ่อนมีขนนุ่มขึ้นอยู่ประปราย โดยทุกส่วนของมะเกลือเมื่อแห้งแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีดำ
-
ออกดอกเดือนมีนาคม - พฤษภาคม ติดผลเดือน มิถุนายน - พฤศจิกายน
การกระจายพันธุ์ :
-
พบมากในพม่าและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบขึ้นตามป่าเบญจพรรณแล้งทั่วไป ที่ความสูง 5-500 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-กันยายน ติดผลระหว่างเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม
-
พบมากในพม่าและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบขึ้นตามป่าเบญจพรรณแล้งทั่วไป ที่ความสูง 5-500 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-กันยายน ติดผลระหว่างเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม
-
พบมากในพม่าและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบขึ้นตามป่าเบญจพรรณแล้งทั่วไป ที่ความสูง 5-500 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-กันยายน ติดผลระหว่างเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม
-
พบมากในพม่าและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบขึ้นตามป่าเบญจพรรณแล้งทั่วไป ที่ความสูง 5-500 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-กันยายน ติดผลระหว่างเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม
-
พม่าและภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตาม ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง หรือเขาหินปูน ที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 500 เมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
- ต้นมะเกลือ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ เปลือกเป็นรอยแตก กิ่งอ่อนมีขนนุ่มประปราย
- ใบ : ขนาดเล็ก รูปไข่หรือรูปรี ปลายสอบแคบเข้าหากัน ส่วนโคนใบกลมมน เนื้อใบบางเกลี้ยง ท้องใบเห็นเส้นใบชัด
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อตามง่ามใบ ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย
- ผล : เป็นผลสดทรงกลม ผลอ่อนมีเปลือกสีเขียว เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีดำ
- ใบ : ขนาดเล็ก รูปไข่หรือรูปรี ปลายสอบแคบเข้าหากัน ส่วนโคนใบกลมมน เนื้อใบบางเกลี้ยง ท้องใบเห็นเส้นใบชัด
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อตามง่ามใบ ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย
- ผล : เป็นผลสดทรงกลม ผลอ่อนมีเปลือกสีเขียว เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีดำ
-
- ต้นมะเกลือ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ เปลือกเป็นรอยแตก กิ่งอ่อนมีขนนุ่มประปราย
- ใบ : ขนาดเล็ก รูปไข่หรือรูปรี ปลายสอบแคบเข้าหากัน ส่วนโคนใบกลมมน เนื้อใบบางเกลี้ยง ท้องใบเห็นเส้นใบชัด
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อตามง่ามใบ ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย
- ผล : เป็นผลสดทรงกลม ผลอ่อนมีเปลือกสีเขียว เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีดำ
- ใบ : ขนาดเล็ก รูปไข่หรือรูปรี ปลายสอบแคบเข้าหากัน ส่วนโคนใบกลมมน เนื้อใบบางเกลี้ยง ท้องใบเห็นเส้นใบชัด
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อตามง่ามใบ ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย
- ผล : เป็นผลสดทรงกลม ผลอ่อนมีเปลือกสีเขียว เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีดำ
-
ใบ - เป็นใบเดี่ยวขนาดเล็ก ลักษณะของใบเป็นรูปไข่หรือรี เรียงแบบสลับ โคนใบกลมหรือมน ปลายใบสอบเข้าหากัน ผิวใบเกลี้ยง ใบกว้างประมาณ 3.5-4 เซนติเมตรและยาวประมาณ 9-10 เซนติเมตร ใบอ่อนจะมีขนปกคลุมอยู่ทั้งสองด้าน
ดอก - ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบ ดอกเป็นแบบแยกเพศต่างต้นกัน ดอกตัวผู้จะมีขนาดเล็ด สีเหลืองอ่อน ในหนึ่งช่อจะมีอยู่ 3 ดอก ส่วนดอกตัวเมียจะเป็นดอกเดี่ยว ลักษณะของดอกเหมือนกัน คือ กลีบรองดอกจะยาวประมาณ 0.1-0.2 เซนติเมตร ที่โคนกลีบดอกจะเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายกลีบดอกจะแยก
เป็น 4 กลีบ มีสีเหลือง เรียงเวียนซ้อนทับกัน ที่กลางดอกจะมีเกสร
ผล - ลักษณะของผลกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร ผิวเรียบเกลี้ยง ผลอ่อนมีสีเขียว ผลสุกมีสีเหลือง ส่วนผลแก่เป็นสีดำ ผลเมื่อแก่จัดจะแห้ง ที่ผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่บนผล 4 กลีบ ผลจะแก่ในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม ในผลมีเมล็ดแบนสีเหลืองประมาณ 4-5 เมล็ด มีขนาดกว้างประมาณ 0.5-0.7 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1-2 เซนติเมตร
ดอก - ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบ ดอกเป็นแบบแยกเพศต่างต้นกัน ดอกตัวผู้จะมีขนาดเล็ด สีเหลืองอ่อน ในหนึ่งช่อจะมีอยู่ 3 ดอก ส่วนดอกตัวเมียจะเป็นดอกเดี่ยว ลักษณะของดอกเหมือนกัน คือ กลีบรองดอกจะยาวประมาณ 0.1-0.2 เซนติเมตร ที่โคนกลีบดอกจะเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายกลีบดอกจะแยก
เป็น 4 กลีบ มีสีเหลือง เรียงเวียนซ้อนทับกัน ที่กลางดอกจะมีเกสร
ผล - ลักษณะของผลกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร ผิวเรียบเกลี้ยง ผลอ่อนมีสีเขียว ผลสุกมีสีเหลือง ส่วนผลแก่เป็นสีดำ ผลเมื่อแก่จัดจะแห้ง ที่ผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่บนผล 4 กลีบ ผลจะแก่ในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม ในผลมีเมล็ดแบนสีเหลืองประมาณ 4-5 เมล็ด มีขนาดกว้างประมาณ 0.5-0.7 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1-2 เซนติเมตร
-
ไม้ต้น สูง 10-30 เมตร มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งและใบอ่อน ก้านใบ และกลีบเลี้ยงด้านนอกใบ เดี่ยว เรียงสลับระนาบเดียว รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 4-8 เซนติเมตร ปลายแหลมหรือแหลมเรียวยาว เส้นแขนงใบข้างละ 10-15 เส้น ดอก แบบดอกแยกเพศต่างต้น กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันปลายแยก 4 กลีบ กลีบดอกเชื่อมติดกันปลายแยก 4 กลีบ สีเหลืองอมส้ม ดอกเพศผู้แบบช่อกระจะ เกสรเพศผู้ 14- 24 เกสร ดอกเพศเมีย มีเกสรเพศผู้เป็นหมัน 8-10 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ มี 8 ช่อง มีขนสั้นนุ่ม ผล แบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด ทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงติดทน กลีบพับงอกลับ มี 4-5 เมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
มุกดาหาร
-
สระบุรี
-
เพชรบุรี
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
จันทบุรี
-
นครราชสีมา
-
นครราชสีมา
-
เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
-
เพชรบูรณ์
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
ระยอง
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
พะเยา, เชียงราย
-
ขอนแก่น
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
ลำปาง, แพร่
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
ลพบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
กาฬสินธุ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
กาญจนบุรี
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
สุรินทร์
การขยายพันธุ์ :
-
โดยการเพาะเมล็ด
-
โดยการเพาะเมล็ด
-
เพาะเมล็ด
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
มูลนิธิสวนหลวง ร.9
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช